Page 133 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 133

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       123








                                    การไถพรวน เป็นการใช้เครื่องมือกระท าต่อดิน เพื่อที่จะให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
                   สภาพของดิน โครงสร้างของดิน หรือเคลื่อนย้ายดิน เพื่อให้มีสภาพเหมาะสมต่อการเพาะปลูก ซึ่งการ
                   ไถพรวนมีวิธีการปฏิบัติให้ถูกต้องและเหมาะสมตามการใช้งาน ดังแสดงตารางที่ 4.4


                   ตารางที่ 4.4 วิธีการเขตกรรมเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า

                          กำรเขตกรรม                  วิธีปฏิบัติ                   กำรใช้งำน

                    1) การไถพรวนตามแนวระดับ   ไถพรวนตามแนวระดับ ขณะดินมี  เหมาะสมกับพื้นที่ความลาดเท 2-8
                    (contour tillage)       ความชื้นเหมาะสม ไม่แห้งหรือแฉะ  เปอร์เซ็นต์ ความยาวของความลาดเท
                                            จนเกินไป                       ไม่เกิน 100 เมตร
                                                                          ในพื้นที่ที่มีความแห้งแล้ง สามารถใช้
                                                                           ร่วมกับมาตรการอื่น เช่น คันดิน
                                                                           ขั้นบันไดดิน
                    2) การไถพรวนน้อยครั้ง    ไถพรวนเท่าที่จ าเป็น         เพื่อช่วยลดการอัดแน่นเป็นแผ่นแข็ง
                    (minimum tillage)                                      ของผิวดิน
                                                                          เหมาะกับพื้นที่ที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วน
                                                                           ดินร่วนปนทราย ระบายน้ าดี แต่ไม่
                                                                           เหมาะกับดินเนื้อละเอียด ดินร่วนปน
                                                                           ดินเหนียว ดินทรายแป้งและดิน
                                                                           เหนียวที่มีการระบายน้ าไม่ดี
                    3) การไม่ไถพรวน         ไม่มีการไถพรวนใด ๆ            เพื่อช่วยรักษาธาตุอาหารและ
                    (no tillage)                                           อินทรียวัตถุในดินไม่ให้ถูกชะล้าง
                                                                           พังทลาย
                                                                          รักษาความชื้นของดิน ควบคุม
                                                                           อุณหภูมิผิวดินตอนกลางวันไม่ให้ร้อน
                                                                           จัดเกินไป รักษาโครงสร้างทาง
                                                                           กายภาพของดิน เช่น ความหนาแน่น
                                                                           ของดิน ไม่ให้เกิดการแน่นทึบ
                                                                          วิธีนี้ไม่เหมาะส าหรับการปลูกพืชที่มี
                                                                           หัวใต้ดิน
                    4) การไถพรวนดินล่าง     ใช้เครื่องจักรกลไถพรวนดินชั้นล่าง   เพิ่มอัตราการซาบซึมน้ าและการกัก
                    (sub soiling)           ท าให้ดินชั้นล่างแตกแยกโดยไม่ยก  เก็บน้ าไว้ในดินให้มากที่สุด
                                            ดินชั้นล่างขึ้นมาบนผิวหน้าดิน     ช่วยท าลายชั้นอัดแน่นบริเวณดินชั้น
                                                                           ล่าง
                                                                          ขุดดินให้ลึกไม่น้อยกว่า 35 เซนติเมตร
                                                                           หรือบางแห่งอาจลึกกว่า 60 เซนติเมตร
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138