Page 82 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       60


                                 ปญหาการใชประโยชนที่ดิน หนาดินแหงจะแข็ง ทําใหไถพรวนยาก พื้นที่ลาดชันงายตอ
                       การถูกชะลางพังทลายสูญเสียหนาดินและขาดแคลนแหลงน้ําชลประทานที่จะนํามาใชในพื้นที่ปลูกพืช

                                 กลุมชุดดินที่ 55 พบ 3 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 31,059 ไร หรือรอยละ 11.75 ไดแก
                                     หนวยแผนที่ 55B : กลุมชุดดิน 55 มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 27,040 ไร

                       หรือรอยละ 10.23
                                     หนวยแผนที่ 55C : กลุมชุดดิน 55 มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 3,315 ไร
                       หรือรอยละ 1.25

                                     หนวยแผนที่ 55D : กลุมชุดดิน 55 มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 704 ไร
                       หรือรอยละ 0.27

                              7) กลุมชุดดินที่ 62

                                พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (slope complex) มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต ซึ่งถือวา
                       ไมเหมาะสมตอการเกษตรทุกประเภท เนื่องจากยากตอการจัดการดูแลรักษา เสี่ยงตอการชะลาง
                       พังทลายอยางรุนแรง ทําลายระบบนิเวศวิทยาของปาไมและสิ่งแวดลอม พื้นที่บริเวณนี้ยังไมมีการ
                       สํารวจและจําแนกดิน โดยทั่วไปประกอบไปดวยดินตื้นถึงลึกมาก มีเนื้อดินเปนดินทรายถึงเปนดิน

                       เหนียว มีเศษหิน กอนหินหรือหินพื้นโผลกระจัดกระจายอยูทั่วไปบนผิวดิน เปนอุปสรรคตอการ
                       เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 60,064 ไร หรือรอยละ 22.72
                                ปญหาการใชประโยชนที่ดิน สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ทําใหเปนอุปสรรคตอการ

                       เกษตรกรรม ยากตอการจัดการดูแลรักษา เสี่ยงตอการชะลางพังทลายสูญเสียหนาดินไดงาย และ
                       ทําลายระบบนิเวศวิทยาของสิ่งแวดลอมและปาไม จึงควรมีการศึกษาดินกอนและทาการเกษตรแบบ
                       วนเกษตร เพื่อรักษาระบบนิเวศของปาไมไมใหเสื่อมโทรม

                              8) หนวยรวมของกลุมชุดดินที่ 28 และที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน (RL)

                                 กลุมชุดดินที่ 28 มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวละเอียด หรือดินเหนียวละเอียดมากที่มีรอย
                       แตกระแหงกวาง ลึก และพบรอยไถลเปนชั้นหนา ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา
                       บริเวณเขาหินปูน พบในพื้นที่ดอนที่ดินมีความชื้นแหงติดตอกันนาน พบรอยแตกระแหงกวาง ลึกและ

                       รอยไถลเปนชั้นหนาภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชันนอยกวา 5 เปอรเซ็นต การระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง ดินบนมีเนื้อ
                       ดินเปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางจัด มีคาความเปน

                       กรดเปนดางของดินประมาณ 6.5-8.5 อาจพบกอนปูนในหนาตัดดิน ความอุดมสมบูรณของดินตาม
                       ธรรมชาติปานกลาง

                                 สวนหนวยแผนที่ RL เปนหนวยแผนที่เบ็ดเตล็ด ที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน

                                 โดยทั้งสองกลุมชุดดินไมสามารถแยกขอบเขตแผนที่ออกจากกันได พบในสัดสวน 50:50
                                 ปญหาการใชประโยชนที่ดิน ดินเหนียวจัด หนาดินแหงหรือเปยกแฉะเกินไปจะไถพรวนยาก
                       เมื่อดินแหงจะเกิดรอยแตกระแหง ทําใหรากพืชฉีกขาดไดงาย และที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน

                                 หนวยรวมของกลุมชุดดินที่ 28 และที่ดินเต็มไปดวยกอนหิน (RL) พบ 3 หนวยแผนที่

                       มีเนื้อที่ 2,855 ไร หรือรอยละ 1.08 ไดแก
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87