Page 78 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       56


                       10. ทรัพยากรดิน

                              การศึกษาขอมูลทรัพยากรดินจากขอมูลแผนที่กลุมชุดดินมาตราสวน 1:25,000 (แผนที่ชุดดิน
                       ปรับปรุงใหม) จากกองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (2561) สามารถสรุปทรัพยากรดินในเขต
                       พัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี ได 22 หนวยแผนที่ดิน และ 5 หนวยแผนที่เบ็ดเตล็ด

                       โดยมีรายละเอียดกลุมชุดดินและแนวทางการจัดการดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548; วุฒิชาติ, 2552)
                       ดังนี้ (ตารางที่ 16 และ ภาพที่ 10)

                              1) กลุมชุดดินที่ 28
                                 กลุมชุดดินที่ 28 มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียวละเอียดมากที่มีรอย

                       แตกระแหงกวาง ลึก และพบรอยไถลเปนชั้นหนา ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา
                       บริเวณเขาหินปูน พบในพื้นที่ดอนที่ดินมีความชื้นแหงติดตอกันนาน พบรอยแตกระแหงกวาง ลึกและ

                       รอยไถลเปนชั้นหนาภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชันนอยกวา 5 เปอรเซ็นต การระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง ดินบนมีเนื้อ
                       ดินเปนดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางจัด มีคาความเปน
                       กรดเปนดางของดินประมาณ 6.5-8.5 อาจพบกอนปูนในหนาตัดดิน ความอุดมสมบูรณของดินตาม

                       ธรรมชาติปานกลาง

                                 ปญหาการใชประโยชนที่ดิน ดินเหนียวจัด หนาดินแหงหรือเปยกแฉะเกินไปจะไถพรวนยาก
                       เมื่อดินแหงจะเกิดรอยแตกระแหง ทําใหรากพืชฉีกขาดไดงาย
                                 กลุมชุดดินที่ 28 พบ 3 หนวยแผนที่ มีเนื้อที่ 57,585 ไร หรือรอยละ 21.78 ไดแก

                                     หนวยแผนที่ 28 : กลุมชุดดิน 28 มีความลาดชัน 0-2 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 5,925 ไร
                       หรือรอยละ 9.80

                                     หนวยแผนที่ 28B : กลุมชุดดิน 28 มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 31,482  ไร
                       หรือรอยละ 11.91
                                     หนวยแผนที่ 28C : กลุมชุดดิน 28 มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต มีเนื้อที่ 178 ไร
                       หรือรอยละ 0.07

                              2) กลุมชุดดินที่ 29

                                 กลุมชุดดินที่ 29 มีเนื้อดินเปนพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียวละเอียดมากที่มี
                       ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําหรือจาก
                       การสลายตัวผุพังของหินเนื้อละเอียด มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในพื้นที่ดอนที่ดินมีความชื้น

                       แหงติดตอกันนาน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเปนเนินเขา มีความลาดชันนอยกวา 35 เปอรเซ็นต
                       การระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง

                       หรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางของดิน
                       ประมาณ 4.5-5.5 ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียว สีน้ําตาล สีแดงปนเหลือง สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง
                       บางพื้นที่อาจพบลูกรังหรือกอนกรวดในชวงความลึก 100-150 เซนติเมตรจากผิวดิน ความอุดม
                       สมบูรณของดินตามธรรมชาติต่ํา

                                ปญหาการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณของดินตามธรรมชาติต่ํา ขาดแคลนน้ําและ
                       พื้นที่ลาดชันดินงายตอการถูกชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83