Page 74 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       53


                       8. ธรณีวิทยา

                              จากการศึกษาขอมูลแผนที่ธรณีวิทยา มาตราสวน 1:250,000 (กรมทรัพยากรธรณี, 2550)
                       สามารถแบงธรณีวิทยาในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี ได 2 ยุค ดังนี้
                       (ภาพที่ 9)

                              1. หินตะกอนในยุคเพอรเมียน (P) กลุมหินสระบุรีเปนชื่อที่ใชเรียกหินยุคเพอรเมี่ยน
                       (อายุประมาณ 286-245 ลานป) ที่แพรกระจายอยูตามบริเวณที่ราบเจาพระยาตอนลางตั้งแตบริเวณ
                       จังหวัดอุทัยธานี นครสวรรค ลงมาถึงจังหวัดสระบุรี และตามแนวขอบดานตะวันตกของที่ราบสูง

                       โคราช กลุมหินสระบุรีสวนใหญแลวเปนหินปูน แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต (karst) กลุมหิน
                       สระบุรีพบกระจายตัวเปนแนวยาวทางดานตะวันออกของจังหวัด วางตัวขนานกับกลุมหินโคราชใน
                       แนวเหนือ-ใต เปนสวนหนึ่งของแนวขอบที่ราบสูงโคราช เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง พบหมวด

                       หินยอยของกลุมหินสระบุรีจํานวน 1 หมวดหิน ซึ่งมีอายุนอย ไดแก หมวดหินซับบอน (Ps)
                       ประกอบดวยหินทราย หินทรายแปง หินดินดานเนื้อเซิรตและหินเซิรตแทรกสลับดวยหินปูนสีเทา
                       มีหินฟลไลตและหินชีสตบาง ครอบคลุมเนื้อที่สวนใหญของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน มีเนื้อที่ประมาณ

                       249,576 ไร หรือรอยละ 94.40
                              2. ตะกอนควอเทอรนารี่ (Q) หมายถึง กรวด ทราย ดิน และดินเหนียว ที่ยังไมแข็งตัว

                       กลายเปนหิน อายุประมาณ 1.8 ลานป จนถึงปจจุบันพบกระจายตัวบริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ
                       เขตพัฒนาที่ดิน ตะกอนที่พบในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินเปนตะกอนเศษหินเชิงเขาและตะกอนผุพังอยู
                       กับที่ (Qc) ประกอบดวยเศษหิน หินควอรตไซท หินทราย หินทรายแปง หินแกรนิต ทราย ทรายแปง

                       ดินลูกรัง และศิลาแลง เกิดจากการผุพังของดินเดิม ตะกอนถูกพัดพาไมไกลจึงมักพบตามเชิงเขา
                       ครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 14,819 ไร หรือรอยละ 5.60

                       9. ธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดิน

                              จากการศึกษาขอมูลธรณีวิทยา และขอมูลทรัพยากรดิน ( (กรมทรัพยากรธรณี, 2550; สํานัก
                       สํารวจและวิจัยทรัพยากรดิน, 2553) รวมถึงลักษณะธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดินในจังหวัด
                       สระบุรี (เฉลิม และ มนัส, 2524) สามารถสรุปธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดินในพื้นที่เขตพัฒนา

                       ที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี ไดดังนี้

                              9.1 ธรณีสัณฐาน
                                 1) บริเวณตะพักลําน้ํา (terrace) เปนบริเวณที่สูงถัดจากพื้นที่ราบลุมน้ําทวมถึงขึ้นไป
                       มีการเปลี่ยนแปลงระดับของพื้นที่โดยแมน้ําหรือทางน้ําและขบวนการกัดกรอนทําใหเกิดพื้นที่ที่มี
                       ระดับแตกตางกัน เปนบริเวณที่สามารถเกิดการทับถมของตะกอนที่มากับน้ํา พื้นที่โดยทั่วไปราบเรียบ

                       ถึงคอนขางราบเรียบจนถึงลูกคลื่นลอนลาด
                                 2) บริเวณพื้นที่ที่เหลือคางจากกระบวนการเกลี่ยผิวแผนดิน (erosional terrain) โดย
                       กระบวนการผุพังสลายตัว (weathering) การกรอน (erosion) การแตกหลุดของมวลเศษหินและ

                       ถูกพัดพา (degradation) ของหินตาง ๆ รวมทั้งการละลายน้ําของหินปูน ทําใหพื้นที่ที่เปนภูเขามีการ
                       ปรับระดับลงเปนพื้นที่ราบ (plain) ลูกคลื่นลอนลาด (undulating) หรือเนินเขา (hill) ขึ้นอยูกับชนิด
                       ของหินในบริเวณนั้น หินสวนที่ผุพังงายหรือออนก็จะผุพังอยูกับที่หรือเคลื่อนยายออกไปสะสมใน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79