Page 56 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       43


                                     จากตัวเลขสถิติขอมูลสภาพภูมิอากาศ เฉลี่ยในรอบ 10 ป (พ.ศ. 2551-2560)
                       ของจังหวัดลพบุรี (ตารางที่ 12) เมื่อนําคาปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย คาศักยการคายระเหยน้ํา คือ ปริมาณ

                       การคายระเหยน้ําในสภาพดินมีความชื้นเพียงพอที่จะใหพืชนําไปใชไดตลอดเวลา ประมาณคาโดยใช
                       โปรแกรม Cropwat ตามสูตรของ Penman-Monteith และ 0.5 ของคาศักยการคายระเหยน้ํา
                       มาวิเคราะหสภาพสมดุลของน้ําเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 4) ตามหลักเกณฑดังกลาวสรุปได ดังนี้

                                     1) ชวงฤดูกาลเพาะปลูกเริ่มตั้งแตตนเดือนเมษายน (ปริมาณน้ําฝนสูงกวาครึ่งหนึ่ง
                       ของศักยการคายระเหยน้ํา) จนกระทั่งถึงตนเดือนพฤศจิกายน (ปริมาณน้ําฝนต่ํากวาครึ่งหนึ่งของศักย
                       การคายระเหยน้ํา) และชวงระหวางตนเดือนมิถุนายนถึงตนเดือนตุลาคมจะมีฝนตกมากจนทําใหมี

                       ปริมาณน้ํามากเกินพอความตองการของพืช (ปริมาณน้ําฝนสูงกวาศักยการคายระเหยน้ํา)
                                     2) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูก ซึ่งเปนชวงเวลาดินที่มีความชื้นและมี
                       ปริมาณน้ําฝนเพียงพอสําหรับการเจริญเติบโตของพืชจะอยูในชวงตนเดือนเมษายน ถึงตนเดือน

                       พฤศจิกายน
                                     3) ชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืช คือ กลางเดือนพฤศจิกายนถึง
                       ปลายเดือนมีนาคม เนื่องจากความชื้นในดินลดลงและปริมาณฝนตกนอยกรณีที่ตองปลูกพืชในชวงนี้

                       จะเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ํา พืชที่จะปลูกควรเลือกพืชที่ใชน้ํานอย ทนแลง และควรมีแหลงน้ําสํารอง

                       4. สภาพทางน้ําและแหลงน้ํา
                              ในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี มีแบบรูปทางน้ําเปนแบบกิ่งไม

                       (dendritic drainage pattern) เปนทางน้ําธรรมชาติขนาดเล็ก โดยสวนใหญจะมีน้ําเฉพาะฤดูฝน
                       ระบบลําธารของเขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง แสดงไวดังภาพที่ 5
                              สภาพทางน้ําในเขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองวังยาง สามารถแบงตามการไหลของของน้ําได

                       2 แบบ ไดแก ทางน้ําที่มีน้ําไหลตามฤดูกาล และทางน้ําที่มีน้ําไหลตลอดป ทางน้ําที่มีน้ําไหลตลอดป
                       ไดแก คลองกระทิง คลองโปรงกระเพรา คลองวังมวง คลองวังยาง คลองสวนมะเดื่อ คลองสุคต
                       หวยไคร หวยจิก หวยไทย หวยน้ําซับ หวยบง หวยแฟน หวยมะเกลือ หวยยาง หวยลาด หวยหิน และ

                       หวยใหญ แหลงน้ําสวนใหญไหลมาจากบริเวณดานทิศตะวันออกและไหลมาบรรจบกันลงสูเขื่อนปาสัก
                       ชลสิทธิ์ที่อยูบริเวณทิศตะวันตกของพื้นที่ลุมน้ํา
                              นอกจากแหลงน้ําตามธรรมชาติแลวยังมีแหลงน้ําผิวดิน ไดแก บอน้ําในไรนา ความจุ 1,260

                       ลูกบาศกเมตร จํานวน 37 บอ ความจุน้ําประมาณ 46,620 ลูกบาศกเมตร อางเก็บน้ํา 1 แหง ไดแก
                       อางเก็บน้ําหนองผักหนอก ฝาย 4 แหง ตั้งอยูที่บานหนองผักหนอก 3 แหง บานหนองมะกูด 1 แหง
                       แหลงน้ําใตดิน ไดแก บอบาดาลจํานวน 238 บอ เปนบอน้ําเพื่อการเกษตรจํานวน 68 บอ ปริมาณน้ํา

                       2,377 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง บอน้ําเพื่ออุปโภค-บริโภค จํานวน 170 บอ ปริมาณน้ํา 1,184.89
                       ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง (ศูนยสารสนเทศทรัพยากรน้ําบาดาล, 2560)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61