Page 54 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       41


                       3. สภาพภูมิอากาศและสมดุลน้ํา

                              3.1 สภาพภูมิอากาศ
                                 สภาพภูมิอากาศในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุมน้ําคลองคลองวังยาง จังหวัดสระบุรี อางอิง

                       จากสถิติขอมูลภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจอากาศลพบุรี จังหวัดลพบุรี ป พ.ศ. 2551-2560 เนื่องจาก
                       สถานีตรวจอากาศแหงนี้อยูใกลพื้นที่ศึกษา พบวา สภาพภูมิอากาศประกอบดวยขอมูลดานตาง ๆ

                       ดังนี้ (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2560) (ตารางที่ 12)
                                 1) ปริมาณน้ําฝน มีปริมาณน้ําฝนรวมตอปประมาณ 1,176.6 มิลลิเมตร เดือนที่มีปริมาณ
                       ฝนตกเฉลี่ยสูงสุด คือ เดือนกันยายน มีปริมาณฝนเฉลี่ย 295.3 มิลลิเมตร เดือนที่มีปริมาณฝนตกเฉลี่ย
                       นอยที่สุด คือ เดือนธันวาคม มีปริมาณฝนเฉลี่ย 4.0 มิลลิเมตร ลักษณะการตกของฝนพบวาฝนจะเริ่ม

                       ตกมากขึ้นตั้งแตเดือนเมษายนและจะตกมากที่สุดในเดือนกันยายน จากนั้นปริมาณฝนจะคอย ๆ
                       ลดลงจนถึงตนเดือนพฤศจิกายน มีจํานวนวันที่ฝนตกเฉลี่ยรวมกัน 116 วันตอป
                                 2) อุณหภูมิ มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 29.7 องศาเซลเซียส เดือนเมษายน มีอุณหภูมิเฉลี่ย

                       สูงสุด 38.49 องศาเซลเซียส และเดือนมกราคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 19.6 องศาเซลเซียส
                                 3) ความชื้นสัมพัทธ ปริมาณความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป 71.6 เปอรเซ็นต โดยที่เดือน
                       กันยายนมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยสูงสุด 81.7 เปอรเซ็นต และเดือนธันวาคมมีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย

                       ต่ําสุด ประมาณ 62.5 เปอรเซ็นต
                                 4) ศักยการคายระเหยน้ํา ศักยการคายระเหยน้ําเฉลี่ยตลอดป เฉลี่ย 128.5 มิลลิเมตร
                       โดยศักยการคายระเหยน้ําสูงสุดเดือนเมษายนเฉลี่ย 157.5 มิลลิเมตร และต่ําสุดเดือนกันยายน

                       เฉลี่ย 110.7 มิลลิเมตร
                              3.2 สมดุลของน้ําในดินเพื่อการเกษตร

                                 เมื่อนําคาศักยภาพการคายระเหย (Potential Evapotranspiration : PET) มาเปรียบ
                       เทียบกับคาปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในชวงระยะเวลาเดียวกัน เพื่อใชเปนแนวทางในการกําหนดระยะเวลา

                       การปลูกพืชที่เหมาะสมในเขตเกษตรน้ําฝน มีหลักเกณฑการพิจารณา ดังนี้
                                 1) การเตรียมเพื่อเพาะปลูกควรเตรียมเมื่อปริมาณน้ําฝนมากกวารอยละ 10 ของคาการ
                       ระเหยน้ํา (P > 0.1xPET)

                                 2) การปลูกพืชและพืชสามารถเจริญเติบโตไดดี เมื่อปริมาณน้ําฝนมากกวารอยละ 50
                       ของคาการคายระเหยน้ํา (P > 0.5xPET)
                                 3) การเก็บเกี่ยวผลผลิตควรพิจารณาใหอยูในชวงที่ความชื้นสัมพัทธนอยที่สุด

                       การเพาะปลูกควรอยูในชวงตนเดือนเมษายนจนถึงตนเดือนพฤศจิกายน ซึ่งตรงกับฤดูฝน เปนระยะที่
                       เหมาะสมสําหรับปลูกพืชทั่วไป สวนจะปลูกเมื่อใดควรพิจารณาจากชนิดของพืชที่จะปลูก แตอาจมีฝน
                       ลดลงบางเล็กนอยในชวงเดือนมิถุนายนถึงตนเดือนตุลาคม ระยะเวลานอกเหนือไปจากชวงนี้เปนฤดู

                       หนาวและฤดูรอน ปริมาณฝนตกนอย ความชื้นในอากาศนอย ไมเหมาะสําหรับปลูกพืชทั่วไป
                       เนื่องจากขาดน้ํา ดังนั้นการปลูกพืชชวงนี้ควรหาแหลงน้ําสํารองไวเพื่อปองกันการขาดแคลนน้ํา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59