Page 150 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 150

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      112


                       ตารางที่ 29 สถานะทรัพยากรดิน พื้นที่ดําเนินการ ตําบลหนองยางเสือ อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

                                                                                              เนื้อที่
                                 สถานะทรัพยากรดิน              หนวยแผนที่ดิน
                                                                                          ไร     รอยละ

                        1. ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น     Ml-sgclB/d2sh,E1            10,453     51.26
                                                             Ml-sgclC/d2sh,E1
                                                             Ml-gclC/d2sh,E1
                                                             Ml-f-clB/d2sh,E1
                                                             Ml-f-clC/d2sh,E1
                        2. พื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน   Ml-gclD/d2sh,E2        1,926       9.44
                                                             Ml-gclE/d2sh,E2
                                                             Ws-gclE/d3sh,E2

                        3. พื้นที่ลาดชันเชิงซอน             SC                            2,498     12.25
                        4. ดินที่มีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูงใน  Tw-vd-clC/d5,E1         3,375     16.58
                           พื้นที่ดอน                        Ws-clC/d3sh,E1
                                                             Ws-sgclC/d3sh,E1

                                                             Ws-clB/d4sh,E1
                                                             Ws-clC/d4sh,E1
                                                             Ws-clC/d5,E1
                        5. พื้นที่เบ็ดเตล็ด                  RC U และ W                    2,135     10.47

                                               รวมเนื้อที่ทั้งหมด                       20,387   100.00


                                 2) พื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายหรือการกรอนของดิน
                                    การชะลางพังทลายหรือการกรอนของดิน (soil erosion) เปนกระบวนการแตกการ

                       แตกกระจาย (detachment) และการเคลื่อนยาย (movement) ของวัสดุดิน ซึ่งอาจเกิดขึ้นตาม
                       ธรรมชาติหรือโดยมีการกระทําของมนุษยเปนตัวเรง ตัวการที่ทําใหเกิดการกรอนของดินตามธรรมชาติ

                       ไดแก น้ํา (water) และลม (wind) การกรอนของดินทําใหคุณภาพของดินเสื่อมลง ดินจะสูญเสียธาตุ
                       อาหาร สมบัติทางกายภาพไมเหมาะสม ดินแนนทึบ ดินตื้นขึ้น เปนตน (สํานักสํารวจดินและวาง

                       แผนการใชที่ดิน, 2551)
                                    การชะลางพังทลายหรือการกรอนของดินในพื้นที่ดําเนินการ พิจารณาจากการสํารวจ

                       ดินและสภาพพื้นที่รวมกับการใชวิธีการประเมินการสูญเสียโดยวิธีสนาม ดวยการคาดคะเนจากการ
                       สูญเสียชั้นดินบนซึ่ง ไดแก ชั้นดิน A ซึ่งเปนชั้นผิวดินที่ถูกรบกวนหรือชั้นดินอนินทรียที่คลุกเคลาดวย
                       อินทรียวัตถุ และ/หรือ ชั้นดิน E ซึ่งเปนชั้นที่อนุภาคดินเหนียวและแรธาตุตาง ๆ ถูกชะลางลงไปสะสม

                       ในชั้นดินลาง ๆ หรือชั้นดินตอนบน 20 เซนติเมตร (ถาชั้นดิน A และ/หรือชั้นดิน E ดั้งเดิม
                       มีความหนานอยกวา 20 เซนติเมตร) ผลจากการประเมินการกรอนของดินดวยวิธีสนาม พบวา
                       ดินมีการกรอนอยูในระดับปานกลาง ซึ่งมีรอยละการสูญเสียของชั้นดินบน 25-75 เปอรเซ็นต

                       ไดแก หนวยแผนที่ Ml-gclD/d2sh,E2 Ml-gclE/d2sh,E2 และ Ws-gclE/d3sh,E2 มีเนื้อที่ 1,926 ไร หรือ
                       รอยละ 9.44
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155