Page 149 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 149

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      111


                      9. สภาพปญหาในพื้นที่ดําเนินการและขอเสนอแนะ

                              9.1 ปญหาทรัพยากรดินและแนวทางแกไข
                                 จากการศึกษา สํารวจ และวิเคราะหขอมูลทรัพยากรดินในบริเวณพื้นที่ดําเนินการ

                       สามารถสรุปได ดังนี้ (ตารางที่ 29 และ ภาพที่ 19)

                                 1) ดินตื้นในที่ดอนถึงชั้นหินพื้น
                                    ดินตื้นเปนอุปสรรคตอการชอนไชของรากพืชและการไถพรวน มีปริมาณดินเหนียว
                       นอยเนื่องจากดินตื้นสวนใหญมักมีเศษหินหรือชิ้นสวนหยาบปะปนในเนื้อดินและพบชั้นขัดขวางการ

                       เจริญเติบโตของรากพืชภายใน 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินมีความสามารถดูดซับน้ําและธาตุอาหารต่ํา
                       ความอุดมการเกาะยึดตัวของเม็ดดินไมดี เกิดการชะลางพังทลายไดงายโดยเฉพาะดินตื้นในพื้นที่ที่มี

                       ความลาดชันสูง ดินตื้นในพื้นที่ดําเนินการ พบ 5 หนวยแผนที่ ไดแก หนวยแผนที่ Ml-sgclB/d2sh,E1
                       Ml-sgclC/d2sh,E1 Ml-gclC/d2sh,E1 Ml-f-clB/d2sh,E1 และ Ml-f-clC/d2sh,E1 มีเนื้อที่ 10,453 ไร หรือ
                       รอยละ 51.26
                                    แนวทางแกไข

                                    1. เลือกปลูกพืชใหเหมาะสมกับดิน ไดแก เลือกปลูกพืชรากสั้นและพืชทนแลง

                       เชน ขาวโพด ทานตะวัน และทุงหญาเลี้ยงสัตว
                                    2. การปลูกพืชไรและพืชผักโดยไมทําการยกรอง แตใชวิธีปลูกโดยการหวานและปลูก
                       พืชที่เลื้อยตามคาง เชน มะเขือเทศ และแกวมังกร เปนตน
                                    3. การปลูกไมยืนตนและไมผล มีการจัดการเฉพาะหลุมโดยการเตรียมหลุมปลูกขนาด

                       50x50x50 เซนติเมตร หรือลึกจนกวาเจอชั้นหินพื้น เก็บเศษหินออกใหมากที่สุด และผสมคลุกเคลา
                       ดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก

                                    4. ปลูกพืชทางเลือกอื่น เชน แกวมังกร และไมดอกไมประดับ เปนตน
                                    5. เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินดวยการปลูกพืชปุยสดแลวไถกลบในระยะออกดอก
                       จะชวยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืชใหกับดิน นอกจากพืชปุยสดแลวยังสามารถใชปุย
                       คอกรวมดวยเนื่องจากในพื้นที่มีโรงเรือนเลี้ยงโคเปนจํานวนมากจึงเปนวัสดุที่หาไดงายและราคา

                       ไมแพง
                                    6. ควรปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ และปลูกหญาแฝกเพื่อลด
                       การชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ดินตื้นที่มีความลาดชันสูง (Intaphan et al., 1997)

                                    7. ควรมีระบบการใหน้ําที่เหมาะสมตามชนิดพืช เชน การใหน้ําแบบระบบน้ําหยด
                       หรือระบบสปริงเกอร
                                    8. ควรจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน การทําคันดินรวมกับพืชตะกูลถั่วตอการ

                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวบนดินตนที่มีความลาดชัน สามารถชวยใหขาวโพดไดผลผลิตดีขึ้น (กมลทิพย
                       และคณะ, 2557)
                                    9. ควรมีการพัฒนาแหลงน้ําไวใช เชน การขุดสระน้ําประจําไรนา หรือฝายกั้นน้ํา

                       ที่กรมพัฒนาที่ดินหรือหนวยงานตาง ๆ เขาไปสนับสนุนในพื้นที่
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154