Page 11 - การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
3) ขั้นตอนการผลิตข้าวของเกษตรกรโดยวิธีการไถกลบตอซัง (นายดาวเรือง มะลิทอง)
การเตรียมดิน หลังจากที่เก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วนั้น ให้ท าการพักดินทิ้งไว้ 10 วัน โดยที่
ไม่ต้องเผาตอซัง ท าการผสมน้ าหมักชีวภาพสูตรสับปะรด จ านวน 5 ลิตรต่อไร่ กับน้ า 100 ลิตร แล้วเท
สารลายน้ าหมักชีวภาพ พด.2 ไหลไปตามน้ าขณะที่เปิดน้ าเข้านา ให้ทั่วทั้งแปลงนา หมักตอซังทิ้งไว้
ประมาณ 7 วัน เพื่อย่อยสลายตอซัง หากฟางข้าวไม่จมน้ า ให้น ารถมาย่ า เพื่อช่วยให้ฟางข้าวจมน้ า แล้ว
ย่อยสลายหลังจากนั้นจึงน ารถมาท าการไถดะ ปล่อยหมักดินทิ้งไว้ 3 วันต่อจากนั้นน ารถมาท าคราด
จ านวน 3 เที่ยว โดยเว้นช่วงเช่นเดียวกัน ท าคราดครั้งที่หนึ่ง เว้นไป 2 วัน จึงท าคราดครั้งที่สอง หมัก
ดินทิ้งไว้อีก 2 วัน จึงท าคราดครั้งที่สาม การท าคราดจะช่วยท าให้ดินนุ่ม หลังจากนั้น จึงท าเทือก ลาก
ปรับดินให้เรียบ แล้วเจาะรางท าทางระบายน้ าออก ปรับหน้าดินให้เรียบ ลูบหน้าดินให้เสมอกัน แล้วจึงท า
การชักร่องน้ า ระบายน้ าออก เตรียมหว่านข้าวต่อไป
การเตรียมเมล็ดพันธุ์น าเมล็ดพันธุ์ข้าว (กข 31) แช่น้ าผสมกับเชื้อไตรโคเดอร์มา นาน
1 คืน น าเมล็ดมาหุ้ม (บ่ม) ไว้ 1 คืน แล้วใช้เครื่องพ่นชนิดติดเครื่องยนต์หว่านเมล็ดให้ทั่วกระจายทั้งแปลงนา
อัตราการหว่าน 20 กิโลกรัมต่อไร่ มีการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวลดน้อยลง เนื่องจากได้ปฏิบัติตามค าแนะน าของ
ศูนย์วิจัยข้าวจังหวัดปทุมธานี
การปฏิบัติดูแลรักษาหลังหว่านข้าว 10 วัน ฉีดยาคุมวัชพืชชื่อทางการค้าแกมิต
(โคลมาโซน ร่วมกับ โพรพานิล) อัตรา 250 ซีซี ผสมกับน้ า 60 ลิตร (พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่) ร่วมกับยาคุม
วัชพืช ชื่อทางการค้าไพแองเคอร์ (ไพริเบนโซซิม) อัตรา 80 ซีซี ผสมกับน้ า 60 ลิตร (พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่)
ข้าวอายุ 20 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 1 สูตร 16-20-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ และ สูตร 46-0-0 อัตรา
5 กิโลกรัมต่อไร่ ข้าวอายุ 45 วัน ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 สูตร 16-20-0 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อข้าวอายุ
25 วัน ฉีดยาก าจัดศัตรูพืช ชื่อทางการค้าดูปองท์ พรีวาธอน (คลอแรนทรานิลิโพรล) อัตรา 10 ซีซี ผสม
กับน้ า 20 ลิตร (พ่นบนพื้นที่ 1 ไร่) ร่วมกับ การใช้น้ าหมักชีวภาพ พด.7 ผสมในอัตราส่วน 1 ต่อ 100 แล้ว
น าไปฉีดพ่นในนาข้าว อัตรา 30 ลิตรต่อไร่ และท าการเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อข้าวอายุ 110 วัน
1.5.5 เก็บตัวอย่างดินวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมี
ท าการเก็บตัวอย่างดินหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวของแต่ละแปลงศึกษา โดยสุ่มแบบ
composite sample ทั้งนี้ก่อนเก็บตัวอย่างดิน จะต้องเอา เศษหญ้า หรือฟางข้าวออกให้หมด แล้วใช้
จอบขุดลงเป็นรูปตัววี ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เก็บดินใส่ถังพลาสติก สุ่มให้ทั่วทั้งแปลง
ประมาณ 15 จุด น าตัวอย่างดินมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วแบ่งตัวอย่างดินออกมา ครึ่งกิโลกรัม น า
ตัวอย่างดินดังกล่าวส่งกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 1 เพื่อวิเคราะห์หาค่าความเป็นกรดเป็น
ด่าง (pH) โดยใช้อัตราส่วนดินต่อน้ า 1:1 แล้ววัดด้วย pH meter ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM) วิเคราะห์โดย
วิธี Walkley and Black method (Walkley and Black, 1947) ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
(Avail.P) วิเคราะห์โดยวิธี Bray II (Bray and Kurtz, 1945) และปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
(Avail.K) วิเคราะห์โดยวิธีการสกัดด้วย ammonium acetate (NH OAc) pH 7 (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อ
4
การพัฒนาที่ดิน, 2547)
1.5.6 เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ผลการศึกษา
1) การเจริญเติบโตด้านความสูง จ านวนต้นต่อกอและจ านวนรวงต่อกอ
การเจริญเติบโตทางด้านความสูง ท าการสุ่มเลือกวัดจุดละ 1 กอ รวมทั้งสิ้น 5 กอ เป็น
ความสูงโดยเฉลี่ย โดยที่ท าการบันทึกความสูงของต้นข้าวโดยเฉลี่ยให้ใช้หน่วยเป็นเชนติเมตร และวิธีวัด