Page 96 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       78







                       ปุ๋ยอินทรีย์ติดต่อกันเป็นระยะ 3 ปี คือการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี ในอัตรา 25 เปอร์เซ็นต์ตามค่า
                       วิเคราะห์ดิน (วิธีที่ 3) ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงที่สุด
                               ดังนั้น แนวทางการลดต้นทุนการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) ของ

                       จังหวัดตราดคือ การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อให้ตรงกับปริมาณความต้องการของพืช และช่วย
                       ลดต้นทุนจากการใส่ปุ๋ยในปริมาณมากเกินความจ าเป็น  นอกจากนี้แล้วควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการ

                       ปรับปรุงโครงสร้าง และแก้ไขข้อจ ากัดของดินในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ซึ่งเป็นดินตื้น
                       ขาดแคลนน้ า และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตยางพาราให้สูงขึ้น การใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                       นั้นแม้ช่วยเพิ่มปริมาณผลผลิตได้ แต่ต้องใช้ในปริมาณมากเพราะปุ๋ยอินทรีย์มีธาตุอาหารต่ ากว่าปุ๋ยเคมี
                       ซึ่งการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในปริมาณมาก ก็ท าให้มีต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นตามมาด้วย ดังนั้นแนวทางที่ดีที่สุด

                       ในการลดต้นทุนการผลิตยางพาราบนพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) คือ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับ
                       ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินในอัตราที่เหมาะสม เพราะให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงที่สุด ซึ่งผลจาก
                       การศึกษาสรุปได้ว่าแนวทางการลดต้นทุนที่ดีที่สุดคือ การใช้ปุ๋ยเคมี 75 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับปุ๋ยเคมี 25

                       เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยใส่ต่อเนื่องกันอย่างน้อย 3 ปี  โดยให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                       เพิ่มขึ้น มากกว่าการใส่ปุ๋ยตามวิธีเกษตรกร 655 บาทต่อไร่ต่อปี หรือ 9.22 เปอร์เซ็นต์


                       5.2 ข้อเสนอแนะ

                              การใช้ปุ๋ยอินทรีย์นั้น เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และมี
                       โครงสร้างที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่ปริมาณธาตุอาหารในปุ๋ยอินทรีย์ มีปริมาณน้อย

                       มากเมื่อเทียบกับปุ๋ยเคมี ดังนั้นการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมที่สุดคือการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี โดยการ
                       ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ควรเลือกใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและมีปริมาณมากในท้องถิ่น เพื่อเป็นการลดต้นทุนจากการ
                       ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ควรวิเคราะห์ค่าอื่นๆนอกจากปริมาณธาตุอาหาร เช่นค่าการ

                       น าไฟฟ้า หรือค่าความเป็นกรดด่างด้วย เพื่อป้องกันการเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืชจาก
                       ปัญหาดินเค็มจากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีค่าการน าไฟฟ้าสูงในระยะยาว หรืออาจใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ย

                       พืชสดและวัสดุปรับปรุงดินเช่นปูนโดโลไมด์เพื่อแก้ไขความเป็นกรด ใส่ยิปซั่มเพื่อแก้ไขความเค็ม

                       5.3 ประโยชน์ที่ได้รับ

                              ทราบถึงข้อเท็จจริง ของการศึกษาแนวทางในการลดต้นทุนจากการผลิตยางพาราบนพื้นที่ที่
                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ว่าไม่ได้เป็นการลดต้นทุนจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทดแทนปุ๋ยเคมี แต่เป็น
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101