Page 11 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
บทที่ 2
ข้อมูลทั่วไป
2.1 ที่ตั้งและอาณาเขต
ต ำบลนำเยีย อ ำเภอนำเยีย จังหวัดอุบลรำชธำนี มีเนื้อที่ทั้งหมดประมำณ 65,600 ไร่ หรือคิด
เป็น 104.960 ตำรำงกิโลเมตร มีระยะทำงห่ำงจำกจังหวัดอุบลรำชธำนีประมำณ 50 กิโลเมตร โดยตั้งอยู่
ในเขตลุ่มน้ ำสำขำล ำโดมใหญ่ และเขตลุ่มน้ ำสำขำล ำน้ ำมูลตอนล่ำง แบ่งกำรปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้ำน
ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้ำนนำเยียใต้ หมู่ที่ 2 บ้ำนนำเยียกลำง หมู่ที่ 3 บ้ำนนำเยีย หมู่ที่ 4 บ้ำนนำเยียเหนือ หมู่ที่
5 บ้ำนนำจำน หมู่ที่ 6 บ้ำนโนนแดง หมู่ที่ 7 บ้ำนนำประชุม หมู่ที่ 8 บ้ำนนำเจริญ หมู่ที่ 9 บ้ำนป่ำยู หมู่ที่
10 บ้ำนโนนพัฒนำ หมู่ที่ 11 บ้ำนใหม่นำงำม หมู่ที่ 12 บ้ำนโนนสมบูรณ์ และหมู่ที่ 13 บ้ำนสว่ำงโนนโพธิ์
(ส ำนักส ำรวจดินและวำงแผนกำรใช้ที่ดิน, 2551) ดังภำพที่ 1 ซึ่งมีอำณำเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต ำบลนำโพธิ์ อ ำเภอพิบูลมังสำหำร จังหวัดอุบลรำชธำนี
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต ำบลกุดประทำย อ ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลรำชธำนี
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต ำบลนำส่วง อ ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลรำชธำนี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ต ำบลนำเรือง อ ำเภอนำเยีย จังหวัดอุบลรำชธำนี
2.2 สภาพภูมิอากาศของจังหวัดอุบลราชธานี
2.2.1 ฤดูกำล (กรมอุตุนิยมวิทยำ, 2560)
สำมำรถแบ่งออกได้เป็น 3 ฤดูกำล ได้แก่
1) ฤดูหนำว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลำคมถึงเดือนกุมภำพันธ์ โดยได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือได้พัดพำน ำมวลอำกำศเย็น และแห้งเข้ำมำปกคลุมส่งผลให้ท้องฟ้ำโปร่ง จะท ำให้
อำกำศหนำวเย็นและแห้งแล้ง
2) ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภำคมถึงเดือนตุลำคม
3) ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภำพันธ์ถึงเดือนพฤษภำคม
2.2.2 อุณหภูมิ
มีอุณหภูมิต่ ำสุดเฉลี่ยอยู่ที่ 17.9 องศำเซลเซียส ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนมกรำคม มีอุณหภูมิ
สูงสุดเฉลี่ยอยู่ที่ 37.0 องศำเซลเซียส ซึ่งอยู่ในช่วงเดือนเมษำยน และมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีมีค่ำเท่ำกับ
27.4 องศำเซลเซียส