Page 10 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         3


                                    1) ฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพ (สารเร่งซุปเปอร์ พด.2) ลงบนตอซังข้าวอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ ทิ้ง
                   ไว้ประมาณ 7 วัน จากนั้นท าการไถกลบตอซังข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทิ้งไว้ 14 วัน และหว่านเมล็ดพันธุ์พืช
                   ปุ๋ยสด (ปอเทือง) อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อปอเทืองออกดอกจนมีอายุครบ 50 วัน ท าการไถกลบ

                   จากนั้นตากดินทิ้งไว้ 10 วัน
                                 2) ใส่ปุ๋ยหมัก (สารเร่งซุปเปอร์ พด.1) อัตรา 2 ตันต่อไร่ ทิ้งไว้เป็นเวลา 7 วัน โดยใส่ก่อน
                   การเตรียมดินทุกปี
                                 3) ไถแปรเพื่อให้ดินร่วนซุยหลังจากใส่ปุ๋ยหมัก และคราดเพื่อก าจัดวัชพืชตลอดจนการท า

                   ให้ดินแตกตัวพร้อมที่จะหว่านข้าวขาวดอกมะลิ 105 ได้ และปรับระดับพื้นที่ให้สม่ าเสมอ จากนั้นท าการไถ
                   ท าเทือก
                                 4) ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีหว่านอัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-

                   16-8 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากหว่านข้าวขาวดอกมะลิ 105 ได้ประมาณ 20 วัน
                                  5) ฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด. 2 อัตรา 15 ลิตรต่อไร่ เมื่อข้าวขาว
                   ดอกมะลิ 105 มีอายุ 30 วัน
                                 6) ฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด. 2 อัตรา 15 ลิตรต่อไร่ อีกครั้ง และใส่
                   ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ช่วงที่ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ตั้งท้อง (ที่ต้นข้าวขาวดอกมะลิ

                   105 อายุ 60 วันหลังจากหว่านข้าวขาวดอกมะลิ 105)
                                  7) ดูแลรักษาแปลงปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ตามความจ าเป็น
                                  8) เก็บข้อมูลของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตรกรแต่ละราย ดังนี้

                                     8.1) ศึกษาการเจริญเติบโต ได้แก่ ความสูงที่ระยะ 120 วัน โดยสุ่มตัวอย่างในพื้นที่
                   ขนาด 1×1 ตารางเมตร จากนั้นน าไปวางในแปลงของเกษตรกรแต่ละรายและสุ่มเก็บตัวอย่างจ านวน 7
                   พื้นที่ๆ ละ 10 ต้น รวมทั้งหมด 70 ต้น แล้วท าวัดความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 จากโคนต้น
                   บริเวณพื้นดินถึงปลายสุดของรวงในแต่ละต้น (มีหน่วยเป็นเซนติเมตร) และท าการเก็บข้อมูลจ านวน 3 ครั้ง

                   ได้แก่ ครั้งที่ 1 ก่อนเข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 และครั้งที่ 3 เข้าร่วมโครงการปีที่ 2
                                   8.2) ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ โดยสุ่มตัวอย่างในพื้นที่ขนาด 1×1 ตารางเมตร จากนั้น
                   น าไปวางในแปลงของเกษตรกรแต่ละรายและเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 จ านวน 7 พื้นที่ และ
                   น าผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ได้มาค านวณเพื่อหาปริมาณผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีหน่วยเป็น

                   กิโลกรัมต่อไร่ และท าการเก็บข้อมูลจ านวน 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ก่อนเข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 เข้าร่วม
                   โครงการปีที่ 1 และครั้งที่ 3 เข้าร่วมโครงการปีที่ 2
                            1.4.3 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติแบบ T-Test ด้วยโปรแกรม SPSS ได้แก่ ค่าสมบัติทางเคมีของ
                   ดิน ได้แก่ ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และปริมาณ

                   โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ ความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ระยะ 120 วัน และผลผลิตของข้าว
                   ขาวดอกมะลิ 105
                            1.4.4 เก็บข้อมูลโดยการสอบถามด้านต้นทุนและรายได้ของเกษตรกรจ านวนทั้ง 3 ครั้ง ได้แก่

                   ครั้งที่ 1 ก่อนเข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 และครั้งที่ 3 เข้าร่วมโครงการปีที่ 2 พร้อม
                   ทั้งวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                            1.4.5 จัดท ารูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15