Page 65 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        56


                   ตอนที่ 3 การปฎิบัติของหมอดินอาสาในการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงดินกรด
                   แบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด

                   ค าแนะน า  โปรดกาเครื่องกาหมาย   √  ลงในช่องว่างตามผลการสัมภาษณ์
                   1.ท่านเคยใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงดินกรดหรือไม่

                   (   )  ไม่เคยน าปูนโดโลไมท์ไปใช้ในการปรับปรุงดินกรด
                   (   )  เคยน าปูนโดโลไมท์ไปใช้ในการปรับปรุงดินกรด และมีวิธีการปฏิบัติตามข้อความด้านล่างนี้




                                                                          ปฏิบัติเป็น   ปฏิบัติ   ไม่ปฏิบัติ
                                    ประเด็นค าถาม                           ประจ า     บางครั้ง     เลย


               1. การใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดต้องหว่านปูนให้ทั่วแปลงที่
               ท าการเกษตรแล้ว ควรไถคลุกเคล้ากับดินในความลึก15 - 20
               เซนติเมตร ทุกครั้งเป็นวิธีแก้ความเป็นกรดของดินที่ดีที่สุด

               2. การใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินที่เป็นกรดต้องใช้
               ปูนโดโลไมท์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน หรือใส่ตามหลักวิชาการเสมอ
               3. การใส่ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรด ไม่จ าเป็นต้องใส่ซ้ า
               ทุกปี โดยใส่  1  ครั้ง  จะมีประสิทธิภาพแก้ความเป็นกรดในดิน

               ได้นาน 3-5 ปี
               4. ก่อนการใส่ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงดินกรดต้องมีการตรวจ
               วิเคราะห์ดินเพื่อหาค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ของดินก่อนเสมอ

               5. การเก็บตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์หาค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
               ต้องท าก่อนการปลูกพืชหรือท าหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยต้องขุด
               ดินลึก  15 เซนติเมตร เก็บ 10-15 จุด พร้อมเขียนรายละเอียด
               การปลูกพืช และชื่อที่อยู่แนบก่อนน ามาส่งตรวจ

               6. การใส่ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดต้องท าก่อนการปลูกพืช
               หรือใส่หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะดีที่สุด
               7. การใช้ปูนโดโลไมท์ที่ถูกต้องท าตามหลักวิชาการ ผู้ใช้ต้องพิจารณา

               ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินก่อนเสมอ
               8. เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้ปูนโดโลไมท์ จะปรึกษา
               เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน หมอดินอาสา หรือสืบค้นข้อมูลจาก
               เว็บไซต์กรมพัฒนาที่ดิน ก่อนการใช้ปูนเสมอ

               9.การเก็บรักษาปูนโดโลไมท์เพื่อรอเวลาที่เหมาะสมในการน าไปใช้
               ควรเก็บรักษาไว้ในโรงเรือนที่มีหลังคาหรือวัสดุคลุมเสมอเพื่อป้องกัน
               ความชื้นและแสงแดด และท าให้ปูนมีคุณภาพที่ดี ก่อนการน าไปใช้

               10. การใช้ปูนโดโลไมท์ในพื้นที่ท านาข้าว จะใช้ในระยะก่อนเตรียม
               แปลงปลูกข้าว โดยไถคลุกเคล้าดินหมักไว้อย่างน้อย 7 วัน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70