Page 63 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 63

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        54


                  ตอนที่ 2  แบบสอบถามเกี่ยวกับความรู้เรื่องดินกรดและการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุง

                              พื้นที่ดินกรด
                  ค าแนะน า  โปรดกาเครื่องกาหมาย   √  ลงในช่องว่างของแบบสอบถาม



                                                 ประเด็นค าถาม                                  ถูก      ผิด
                   ความรู้เกี่ยวกับดินกรดและการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด
                   1. ดินกรด  หมายถึง  ดินที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ต่ ากว่า 7 และดินกรดจะเป็น
                   ปัญหาในการปลูกพืช เมื่อมีค่า pH ต่ ากว่า 5.5 เป็นดินที่ไม่เหมาะสมในการท าการเกษตร

                   2. การเกิดดินกรดสามารถเกิดได้กับดินทุกชนิดทั้งดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว และ
                   ยังเกิดได้ทั้งดินในที่ดอนและดินในที่ราบลุ่ม
                   3. ดินกรดสามารถตรวจสอบได้โดยการใช้ลิ้นแตะบริเวณเนื้อดินจะรู้สึกว่าดินมี

                   รสเปรี้ยว
                   4. ดินกรด  คือ  ดินที่มีธาตุอาหารละลายอยู่ในดินสูง เหมาะสมแก่การปลูกพืชโดยไม่ต้อง
                   มีการปรับปรุงดินก็สามารถปลูกพืชได้เป็นอย่างดี
                   5. ในพื้นที่ดินกรดจัด  จะมีปัญหาดินขาดธาตุอาหารหลักอย่างรุนแรงโดยเฉพาะ

                   ไนโตรเจนและฟอสฟอรัส  ซึ่งฟอสฟอรัสจะขาดรุนแรงมาก
                   6. ดินกรดสามารถแก้ได้ หลายวิธี  เช่น  การเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน  หรืออีกวิธีหนึ่งที่
                   นิยมมากที่สุด  คือการใช้ปูนทางการเกษตร  เช่น ปูนขาว ปูนมาร์ล ปูนโดโลไมท์

                   7. การเกิดดินกรดในพื้นที่ท าการเกษตรมีสาเหตุเกิดจากดินถูกชะล้างเอาธาตุที่
                   เป็นด่างออกไปจากดิน รวมถึงพืชที่ปลูกอาจดึงธาตุที่เป็นด่างไปใช้ และการใช้พื้นที่
                   ท าการเกษตรอย่างเข้มข้นยาวนานและขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน จึงท าให้ดินเกิดเป็น
                   ดินกรดได้

                   8. ปูนโดโลไมท์มีคุณสมบัติเป็นด่างมีความสามารถในการแก้ความเป็นกรดกรดได้
                   ไม่ต่ ากว่า 90 เปอร์เซ็นต์
                   9. การใช้ปูนโดโลไมท์มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดินช่วยยกระดับค่า

                   ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH)ของดินให้สูงขึ้น
                   10. ประโยชน์ของปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด นอกจากลดความ
                   เป็นกรดในดินแล้วยังท าให้ดินร่วนซุย  แก้ปัญหาดินแน่น  ท าให้ไถเตรียมดินได้ง่ายขึ้น
                   11. การปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้เหมาะสมในการปลูกพืชแล้วนอกจากจะ

                   ท าให้พืชเจริญเติบโตได้ดีแล้วยังช่วยลดปัญหาการเกิดโรคของพืชได้อีกทางหนึ่ง
                   12.  การใช้ปูนโดโลไมท์ปรับปรุงพื้นที่ดินกรด  สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีและให้ผลผลิต
                   เพิ่มขึ้น เพราะปูนโดโลไมท์ มีคุณสมบัติเหมือนกับปุ๋ยเคมี

                   13. ปูนโดโลไมท์มีคุณสมบัติเป็นปุ๋ยชนิดหนึ่งที่ได้จากธรรมชาติสามารถช่วยให้พืช
                   เจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพืชได้
                   14. ปูนโดโลไมท์เป็นปูนที่มีส่วนประกอบของแคลเซียมและแมกนีเซียมนอกจากการปรับ
                   สภาพความเป็นกรดของดินในการปลูกแล้ว ยังเป็นการเติมธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียม

                   ให้กับดินได้ด้วย
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68