Page 74 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                          51


                  ความชื้นตามระดับความลึก 15.73 16.22 16.01 และ 15.90 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร (ตารางภาคผนวกที่ 122)
                  จะเห็นไดวาปที่ 1 และปที่ 2 ความชื้นใกลเคียงกันอาจเปนเพราะหญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด พันธุราชบุรีใชน้ํา

                  นอยมากกวาพันธุอื่น (อภันตรี และคณะ, 2548)  ซึ่งในภาพรวมปที่ 1 แปลงหญาแฝกดอนและหญาแฝกลุมมี
                  ความชื้นในดินใกลเคียงกัน ในปที่ 2 ความชื้นแปลงหญาแฝกดอนและหญาแฝกลุมใกลเคียงกัน  ดินที่ระดับ
                  ความลึก 40 เซนติเมตร ปที่ 1แปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดินสูงกวาแปลงหญาแฝกลุม สวนปที่ 2 แปลง
                  หญาแฝกลุมและแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นใกลเคียงกัน เมื่อพิจารณาความชื้นดินที่ระดับความลึก 60
                  เซนติเมตร ปที่ 1 หญาแฝกดอนมีแนวโนมใหความชื้นในดินสูงกวาแปลงหญาแฝกลุม สวนปที่ 2 แปลงหญา

                  แฝกดอนและหญาแฝกลุมมีความชื้นในดินใกลเคียงกัน และเมื่อพิจารณาความชื้นในดินที่ระดับความลึก 100
                  เซนติเมตร แปลงหญาแฝกลุมมีแนวโนมความชื้นในดินสูงกวาแปลงหญาแฝกดอน เห็นไดวาหญาแฝกซึ่งเปนพืช
                  ที่มีระบบรากยาว มีรากจํานวนมาก และรากเจริญเติบโตในแนวดิ่งลงในดิน จะชวยใหน้ําฝนซึมซับลงในดินตาม

                  ความยาวของรากหญาแฝก ระบบรากที่เปนรางแหทําใหเกิดชองวางในดินจํานวนมากจะชวยกักเก็บความชื้นไว
                  ในดิน (ปอล และคณะ, 2556; วิทูรและอาทิตย, 2536)  และการตัดใบหญาแฝกคลุมดินสามารถชวยกักเก็บ
                  ปริมาณความชื้นในดินได และจะชวยใหความชื้นอยูในดินระยะเวลายาวนานขึ้น (Hu et al., 1997; Chen et
                  al.,1994; Liyu, 1988)โดยใบหญาแฝกจะชวยปกปองแสงแดด และลดการระเหยน้ําจากดิน และชวยใหน้ําฝน

                  ซึมซาบลงในดินไดมากยิ่งขึ้น (Xia et al, 1996) ในขณะที่พืชคลุมดินมีระบบรากที่สั้นกวารากของหญาแฝก
                  การกักเก็บและดูดยึดความชื้นไวในดิน จึงนอยกวารากของหญาแฝกที่รากมีปริมาณมากกวา สวนแปลงที่ไมมี
                  การปลูกหญาแฝก พืชคลุมดิน เมื่อเวลาฝนตกแรงกระแทกจากเม็ดฝน อนุภาคดินจะปดชองวางในดิน ทําใหดิน
                  อัดตัวแนนน้ําฝนซึมผานไดนอยและชา น้ําสวนใหญจึงไหลบาจากผิวดินไป (กรมพัฒนาที่ดิน, 2534) น้ําจึงซึม

                  ซาบลงในดินนอยกวาแปลงที่มีการปลูกหญาแฝก นอกจากนี้ในชวงฤดูฝน และฤดูแลง  หญาแฝกชวยกักเก็บ
                  ปริมาณความชื้นในดินไดเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืชดีกวาพืชคุลมดิน ดังนั้นการปลูกหญาแฝกสามารถ
                  เจริญเติบโตและรักษาความชื้นดินทั้งในชวงฤดูแลงและฤดูฝน สอดคลองกับประภา (2555) รายงานวาการปลูก
                  หญาแฝกในพื้นที่ปลูกมะมวงความชื้นในดินมีแนวโนมสูงกวาแปลงควบคุมที่ไมปลูกหญาแฝก โดยพบวาถึงแม

                  ความชื้นดินในแตละความลึกมีความแปรปรวนไมสม่ําเสมอในชวงระยะเวลาที่ศึกษา แตแปลงทดลองที่มีวิธีการ
                  ปลูกหญาแฝกรวมกับมะมวงมีศักยภาพที่สามารถเพิ่มความชื้นในดินได
                                            ผลวิเคราะหสมบัติทางกายภาพหลังการทดลองของชุดดินวังสะพุง จะเห็นไดวา

                  ตํารับการทดลองตาง ๆ มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ โดยหญาแฝกดอนพันธุประจวบคีรีขันธ
                  ลดความหนาแนนรวมของดินไดดีที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร  หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ดสามารถลดความ
                  หนาแนนรวมของดินระดับความลึก 15-30 เซนติเมตร  ในขณะที่ดินระดับความลึก 30-50 เซนติเมตร
                  หญาแฝกลุมพันธุสุราษฎรธานี และพันธุสงขลา 3 สามารถลดความหนาแนนของดินไดดี สวนดินที่ปลูก
                  หญาแฝกมีแนวโนมปริมาณความชื้นดินมากกวาพืชคลุมดิน และแปลงควบคุม เมื่อพิจารณาดินที่ระดับความลึก 40

                  เซนติเมตร หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด สวนหญาแฝกดอน ไดแก พันธุรอยเอ็ด
                  และพันธุราชบุรี สําหรับดินระดับความลึกที่ 100 เซนติเมตร หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นใน
                  ดินสูงที่สุด สวนแปลงหญาแฝกดอนไดแก พันธุรอยเอ็ด
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79