Page 72 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 72

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                          49


                                      2) ปริมาณความชื้นในดิน ปที่ 2 ชวงเดือนพฤศจิกายน 2558 ถึงเดือนสิงหาคม 2559
                  ตลอดระยะเวลาที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดิน เมื่อพิจารณาดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร หญาแฝก

                  ดอนพันธุรอยเอ็ด มีปริมาณความชื้นสูงที่สุด สวนดินที่ระดับความลึกที่ 40 เซนติเมตร แปลงหญาแฝกลุมพันธุ
                  สงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด ดินที่ระดับความลึกที่ 60 เซนติเมตร หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด
                  มีปริมาณความชื้นดินสูงที่สุด สําหรับดินระดับความลึกที่ 100 เซนติเมตร  แปลงหญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3
                  หญาแฝกดอนพันธุรอยเอ็ด จะมีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด  โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                            (1) ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร

                                               ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 10 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่
                  16  พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ แปลงหญา
                  แฝกพันธุรอยเอ็ดมีปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยสูงสุด 18.54 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร รองลงมาไดแก แปลงหญา

                  แฝกพันธุพระราชทาน พันธุตรัง 2 พันธุราชบุรี พันธุศรีลังกา พันธุสงขลา 3 พันธุสุราษฎรธานี ถั่วปนโต หญา
                  แฝกพันธุประจวบคีรีขันธ พันธุนครสวรรค และแปลงควบคุม มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ 16.87 15.93
                  15.73 15.69 15.49 14.98 14.42 13.92 13.84 และ 10.93 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ แปลงถั่ว
                  เวอราโนมีปริมาณความชื้นในดินต่ําสุด 8.98 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดิน

                  เฉลี่ยที่ระดับ 10 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝกและพืชคลุมดิน พบวามีความแตกตางกันอยางมี
                  นัยสําคัญยิ่งทางสถิติ เชนเดียวกับแปลงหญาแฝกเปรียบเทียบแปลงพืชคลุมดิน สวนแปลงหญาแฝกดอน
                  เปรียบเทียบแปลงหญาแฝกพันธุลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ จะเห็นไดวาแปลงหญาแฝกลุมมี
                  ความชื้นสูงสุดเทากับ 15.78 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ใกลเคียงกับแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดิน 15.51

                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงหญาแฝกมีความชื้นสูงกวาแปลงพืชคลุมดินเทากับ 11.70 เปอรเซ็นตโดย
                  ปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 10.93 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                                            (2) ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร
                                               ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่

                  17 พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ยกเวนเดือน
                  มิถุนายน 2559  แปลงหญาแฝกพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงสุด 17.09 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  รองลงมาไดแก แปลงหญาแฝกพันธุราชบุรี พันธุตรัง 2 พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุรอยเอ็ด พันธุสุราษฎรธานี พันธุ

                  พระราชทาน พันธุศรีลังกา พันธุนครสวรรค  ถั่วปนโต และถั่วเวอราโน ปริมาณความชื้นในดินเทากับ 16.22
                  16.15 15.74 15.67 15.30 14.94 14.63 14.49 13.62 และ 11.11 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ สวน
                  แปลงควบคุมมีปริมาณความชื้นในดินต่ําสุด 9.33 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นใน
                  ดินเฉลี่ยที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน มีความแตกตางกัน
                  อยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ  เชนเดียวกับแปลงหญาแฝกเปรียบเทียบพืชคลุมดิน สวนแปลงหญาแฝกดอน

                  เปรียบเทียบแปลงหญาแฝกพันธุลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ จะเห็นไดวาแปลงหญาแฝกลุมมี
                  ปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด 15.62 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร มีความชื้นใกลเคียงกับแปลงหญาแฝกดอนมี
                  ความชื้นในดิน 15.53 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงหญาแฝกมีความชื้นในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน 12.36

                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 9.33 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                                            (3) ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร
                                               ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร ดังแสดงในตารางที่
                  18 พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ ยกเวนเดือน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77