Page 73 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                          50


                  มิถุนายน 2559  แปลงหญาแฝกพันธุรอยเอ็ด มีปริมาณความชื้นในดินสูงสุด 17.20 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  รองลงมาไดแก แปลงหญาแฝกพันธุสงขลา 3 พันธุตรัง 2 พันธุราชบุรี พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุพระราชทาน

                  พันธุนครสวรรค พันธุศรีลังกา พันธุสุราษฎรธานี ถั่วปนโต และถั่วเวอราโน มีปริมาณความชื้นในดินเทากับ
                  17.04 16.08 16.01 15.82 15.31 14.53 14.13 13.81 13.11 และ 11.14 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ
                  สวนแปลงควบคุมมีปริมาณความชื้นในดินต่ําสุด 10.80 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ
                  ความชื้นในดินเฉลี่ยที่ระดับความลึก 60 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน พบวาทุก
                  กลุมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ จะเห็นไดแปลงหญาแฝกดอนมีความชื้นในดิน 15.89

                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร มีความชื้นใกลเคียงกับแปลงหญาแฝกลุมที่มีความชื้นในดิน 15.28 เปอรเซ็นตโดย
                  ปริมาตร แปลงหญาแฝกมีความชื้นในดินสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน 12.13 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลง
                  ควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด 10.80 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ซึ่งเดือนเมษายน 2559 ชวงฤดูแลงแปลงหญาแฝก

                  ดอนมีปริมาณความชื้นดินสูงที่สุดอยางเห็นไดชัด
                                            (4) ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 100 เซนติเมตร
                                                ปริมาณความชื้นในดินที่ระดับความลึก 100 เซนติเมตร ดังแสดงในตาราง
                  ที่ 19 พบวาทุกเดือนที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดินมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ แปลง

                  หญาแฝกพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงสุด 18.83 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร  รองลงมาไดแก แปลง
                  หญาแฝกพันธุรอยเอ็ด พันธุตรัง 2 พันธุศรีลังกา พันธุราชบุรี พันธุพระราชทาน พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุ
                  สุราษฎรธานี พันธุนครสวรรค ถั่วปนโต และถั่วเวอราโน ปริมาณความชื้นในดินเทากับ 18.28 17.21 16.06
                  15.90 15.82 15.51 14.11 13.25 12.43 และ 10.88 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ตามลําดับ สวนแปลงควบคุมมี

                  ปริมาณความชื้นดินต่ําสุด 10.48 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร เมื่อเปรียบเทียบปริมาณความชื้นในดินเฉลี่ยที่ระดับ
                  ความลึก 60 เซนติเมตร ระหวางแปลงควบคุม หญาแฝก และพืชคลุมดิน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ
                  ยิ่งทางสถิติ  เชนเดียวกับแปลงหญาเปรียบเทียบแปลงพืชคลุมดิน สวนแปลงหญาแฝกดอนเปรียบเทียบแปลง
                  หญาแฝกลุม พบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ จะเห็นไดวาแปลงหญาแฝกลุม มีความชื้นในดินสูงสุด 16.41

                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ใกลเคียงกับความชื้นดินแปลงหญาแฝกดอน 15.74 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร แปลงหญา
                  แฝกมีความชื้นสูงกวาแปลงพืชคลุมดิน 11.65 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และแปลงควบคุมมีความชื้นในดินต่ําสุด
                  10.48  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ซึ่งเดือนมกราคม 2559 แปลงหญาแฝกลุมมีปริมาณความชื้นดินสูงที่สุดอยาง

                  เห็นไดชัด
                                            ปที่ 2 พบวา ตลอดระยะเวลาที่มีการวัดปริมาณความชื้นในดิน แปลงหญาแฝกลุม
                  และหญาแฝกดอนจะมีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด โดยเมื่อพิจารณาดินที่ระดับความลึก 40 เซนติเมตร
                  แปลงหญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีปริมาณความชื้นในดินสูงที่สุด สวนแปลงหญาแฝกดอน ไดแก พันธุรอยเอ็ด
                  และพันธุราชบุรี สําหรับดินระดับความลึกที่ 100 เซนติเมตร  แปลงหญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 จะมีปริมาณ

                  ความชื้นในดินสูงที่สุด สวนแปลงหญาแฝกดอนไดแก พันธุรอยเอ็ด
                                            จากการวัดปริมาณความชื้นในดินปที่ 1 และปที่ 2  ดินแปลงหญาแฝกดอนพันธุ
                  รอยเอ็ด พันธุราชบุรีที่ระดับความลึก 10 40 60 และ 100 เซนติเมตร มีปริมาณความชื้นในดินคอนขางคงที่

                  โดยพันธุรอยเอ็ด ปที่ 1 มีความชื้นตามระดับความลึก 15.98 15.67 15.13 15.54 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร
                  และปที่ 2 มีความชื้นตามระดับความลึก 18.54 15.67 17.20 และ 18.28 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร สวนพันธุ
                  ราชบุรี ปที่ 1 มีความชื้นตามระดับความลึก 12.13 14.97 15.41 14.26 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และปที่ 2 มี
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78