Page 78 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       65






                                                           ปนเศษหินหนาแน่นมาก สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง
                                                           ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5)
                              ข้อจ ากัด                    :  เป็นดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแน่นและความอุดมสมบูรณ์
                                                           ต่ า พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะล้างพังทลายได้ง่าย

                              ข้อเสนอแนะ                   : บริเวณที่มีความลาดชันไม่มากนัก (ไม่เกิน 12%) และดิน
                                                           ไม่ตื้นมาก อาจใช้ปลูกพืชไร่ได้ แต่ต้องรบกวนดินน้อยที่สุด
                                                           พร้อมทั้งจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ที่เหมาะสมโดยใช้
                                                           วิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณ์แก่ดินและเพิ่มผลผลิตพืช

                                                           โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไม่ควร
                                                           น ามาใช้เพาะปลูก ควรให้คงสภาพป่าหรือฟื้นฟูสภาพป่า

                       ตารางที่ 15 สมบัติทางเคมีของดินชุดดินลี้

                        ความลึก อินทรียวัตถุ     ความจุ     ความอิ่ม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดม

                         (ซม.)                 แลกเปลี่ยน    ตัวเบส     ที่เป็น      ที่เป็น    สมบูรณ์

                                               แคตไอออน               ประโยชน์     ประโยชน์     ของดิน
                          0-25     ปานกลาง         สูง      ปานกลาง ปานกลาง           สูง      ปานกลาง
                         25-50        ต ่า      ปานกลาง     ปานกลาง      ต ่า      ปานกลาง     ปานกลาง


                                            ชุดดินลี้ ที่พบ มี 2 ประเภท คือ
                                                - หน่วยแผนที่ 2 Li-clD/d2, E2 : ดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดิน
                       เหนียว มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ พบชั้นหินพื้นที่ความลึก 25-50 เซนติเมตร มีการกร่อนปาน
                       กลาง มีเนื้อที่ 1 ไร่ หรือร้อยละ 0.25 ของพื้นที่

                                                - หน่วยแผนที่ 3 Li-clE/d2, E3 : ดินลี้ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดิน
                       เหนียว มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์ พบชั้นหินพื้นที่ความลึก 25-50 เซนติเมตร มีการกร่อน
                       รุนแรง มีเนื้อที่72 ไร่ หรือร้อยละ 18.18 ของพื้นที่

                                            (3) ดินคล้ายชุดดินวังสะพุงที่เป็นดินลึก (Wang Saphung deep variant: Ws-d)

                              ชุดดิน                       : วังสะพุง
                              Series                       : Ws-d

                              การจ าแนกดิน (USDA)          : Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Paleustalfs
                              สภาพพื้นที่                  : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %
                              ภูมิสัณฐาน                   : พื้นที่ภูเขา หรือเชิงเขา

                              วัตถุต้นก าเนิด              :  เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่
                                                           แปรสภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน
                                                           หินชนวน หินฟิลไลท์ เป็นต้น และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุ
                                                           ดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรง

                                                           โน้มถ่วง บริเวณเชิงเขา
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83