Page 77 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       55


                         2. กิจกรรมปรับปรุงบ ารุงดิน

                               2.1 ปรับปรุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด :  สนับสนุนการปลูกพืชปุ๋ยสด(ปอเทือง)พบว่า เกษตรกรมี
               ต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ยร้อยละ 30 เนื่องจากเกษตรกรใช้ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยหมักลดลง  ท าให้ผลตอบแทน

               เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 และเมื่อเปรียบเทียบคุณภาพดินก่อนและหลังได้รับการปรับปรุงดินดินมีความร่วนซุย
               เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ดินมีความชื้นเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 15
                              2.2 ปุ๋ยหมักสูตรพระราชทาน : สนับสนุนการใช้ปุ๋ยหมักสูตรพระราชทานฯกับเกษตรกร
               จ านวน 15 ตัน พบว่าหลังด าเนินการการส่งเสริมการผลิตปุ๋ยหมักพระราชทานฯ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมี

               ต้นทุนการผลิตทางการเกษตรลดลงร้อยละ 10  เนื่องจากเกษตรกรใช้ปุ๋ยเคมีลดลง อัตราส่วนของผลผลิต
               เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 โดยส่วนใหญ่ปลูกปาล์มน้ ามัน และรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 25

                         3. กิจกรรมส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์
                              3.1 จัดตั้งกลุ่มเกษตรกร :  สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรเพื่อฝึกอบรมจ านวน 2 กลุ่ม
               (กลุ่มละ 15 ราย) เกษตรกรได้ความรู้เรื่องการปรับปรุงบ ารุงดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 70

                         4. กิจกรรมศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน

                              4.1 ศูนย์เรียนรู้หมอดินอาสา :  สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อเป็นจุดสาธิตและถ่ายทอดองค์
               ความรู้ทางวิชาการของสถานีพัฒนาที่ดินชุมพร เกษตรกรได้รับความสะดวกเพิ่มขึ้นร้อยละ 80 เกษตรกรเข้าใจ
               งานของกรมพัฒนาที่ดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 50

                         5. กิจกรรมการพัฒนาหมอดินอาสา/ยุวหมอดิน
                              5.1 อบรมหมอดินอาสา :  ฝึกอบรมเกษตรกรจ านวน 3 ราย เกษตรกรมีความรู้เรื่องงาน

               พัฒนาที่ดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
                               5.2 อบรมกลุ่มเกษตรกรใช้สารอินทรีย์ฯ : ฝึกอบรมเกษตรกรจ านวน 2 ราย เกษตรกรมี
               ความรู้เรื่องงานพัฒนาที่ดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 100

                         6. กิจกรรมส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน
                              6.1 เก็บตัวอย่างดิน : เก็บตัวอย่างดินจากแปลงเกษตรกรในพื้นที่จ านวน 75 ราย เกษตรกรมี

               ความรู้เรื่องการเก็บตัวอย่างดินเพิ่มขึ้นร้อยละ 100  แปลงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจ
               วิเคราะห์ดินร้อยละ 100

                         7. จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพื้นที่ลุ่ม-ดอนปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน
                              7.1 อัตราการชะล้างพังทลายอยู่ในระดับรุนแรง และรุนแรงมาก : พื้นที่รับน้ า A, B และ C

               วิธีที่ด าเนินการมี 5 รูปแบบ 1. คันดินแบบที่ 5 2. ทางล าเลียงในไร่นา 3. ท่อระบายน้ า 4. บ่อดักตะกอนดิน 5.
               อาคารชะลอความเร็วน้ า หลังจากใช้รูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าได้ผลคือ แปลงปาล์มน้ ามันในพื้นที่รับน้ า A, B
               และ C  ท าคันดินแบบที่ 5 คันซากพืช และบ่อดักตะกอนดินมีอัตราการสูญเสียดินก่อนด าเนินการ 35.22-
               21.21 ตันต่อไร่ต่อปี หลังด าเนินการมีอัตราการสูญเสียดิน 3.52-1.48 ตันต่อไร่ต่อปี

                              7.2 พัฒนาแหล่งน้ า  :  แหล่งน้ าสามารถกักเก็บน้ าได้ในฤดูแล้งเฉลี่ยร้อยละ 20 ท าให้
               เกษตรกรมีทางเลือกในการใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีน้ าส่งผลให้มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 โดย
               เกษตรกรส่วนใหญ่จะปลูกผักเป็นอาชีพเสริม
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82