Page 82 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       59


                                                         บทที่ 5

                                                    สรุปผลการศึกษา
               5.1 สรุป
                       การด าเนินงานการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ลุ่มน้ าคลองรับร่อ พื้นที่

               ด าเนินการ 5,575 ไร่ ด าเนินงานในปี พ.ศ. 2560-2561 พื้นที่บ้านจันทึง หมู่ 5 ต าบลหินแก้ว  อ าเภอท่าแซะ
               จังหวัดชุมพร  โดยบูรณาการกิจกรรมการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และการปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อให้เป็น

               พื้นที่ที่มีการพัฒนาที่ดินอย่างสมบูรณ์ ผลการปฏิบัติงานสรุปได้ดังนี้ 1)  คันดินแบบ 5 ระยะทาง 4,600
               กิโลเมตร 2) ก่อสร้างทางล าเลียงในไร่นา จ านวน  6.91  กิโลเมตร 3) ท่อระบายน้ า 55 จุด 4) ก่อสร้างบ่อดัก

               ตะกอนดิน จ านวน 11 บ่อ   8) ฟื้นฟูและปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน โดยการรณรงค์ส่งเสริมการปลูก
               หญ้าแฝก (เพื่อปลูก) จ านวน 500 ไร่ (เพื่อแจกจ่าย) จ านวน 375 ไร่

                       การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน ตามกิจกรรมที่ได้ด าเนินการ
               พื้นที่ในโครงการฯ ทั้งวิธีกลและวิธีพืช ช่วยลดการชะล้างพังทลายของดิน ชะลอความเร็วของน้ า ลดการไหล
               บ่าของน้ าในพื้นที่ เพิ่มความสามารถในการซาบซึมน้ าของดิน น้ าส่วนที่เหลือจะไหลลงสู่บ่อดักตะกอนดิน เพิ่ม

               ความชุ่มชื้นให้แก่ดิน และเก็บกักน้ าไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง ท าให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างมั่นคง
               และยั่งยืน นอกจากนี้การสร้างทางล าเลียง ช่วยให้เกษตรกร สามารถขนส่งปัจจัยการผลิตเข้าไปในพื้นที่ และขน

               ผลผลิตออกจากพื้นที่สู่ถนนหลักได้สะดวก และรวดเร็ว เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ลดต้นทุนการผลิต
               ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จากการส ารวจผลสัมฤทธิ์ (Outcome) ของงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
               ในพื้นที่ด าเนินการ พบว่าเกษตรกรมีความพึงพอใจต่องานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และให้ความร่วมมือเป็น

               อย่างดี
                       กิจกรรมการปรับปรุงบ ารุงดิน ได้ด าเนินการดังนี้ 1) ปรับปรุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด จ านวน 700 ไร่ 2)

               จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมการใช้สารอินทรีย์ จ านวน 2 กลุ่ม 3)ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน
               จ านวน 75 ราย  เป็นการด าเนินการเพื่อปูองกันและแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน  และเพิ่ม

               ประสิทธิภาพการผลิตพืช เพิ่มรายได้ ลดต้นทุนการผลิตพืช และพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน


               5.2 ข้อเสนอแนะ
                       1. ควรจัดท าแผนการมีส่วนร่วมของเกษตรกร และหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ เพื่อความยั่งยืนของ
               โครงการ
                       2. ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เช่นบ่อดักตะกอนต้องมีการดูแลอย่างต่อเนื่อง ควรส่งมอบให้หน่วยงานใน

               พื้นที่ดูแลต่อเนื่องเพื่อง่ายต่อการจัดสรรงบประมาณดูแลรักษา

               5.3 แนวทางการจัดการทรัพยากรดิน และการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                       1.  ส่งเสริมให้เกษตรกรเข้าใจระบบการอนุรักษ์ดินและน้ าโดยวิธีพืช เช่นการปลูกหญ้าแฝก การปลูก
               พืชปุ๋ยสด การปลูกพืชคลุมดิน เป็นต้น
                       2. ส่งเสริมกิจกรรมปรับปรุงบ ารุงดิน ได้แก่ การใช้ปุ๋ยหมัก การใช้พืชปุ๋ยสด การใช้สารอินทรีย์ทดแทน

               การใช้สารเคมี
                       3. ส่งเสริมการปลูกพืชให้เหมาะสมกับพื้นที
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87