Page 76 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 76

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       54


                       4.2.2 การจัดการดินตามผลค่าวิเคราะห์ดิน

                       จากการเก็บตัวอย่างดินวิเคราะห์ พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ
               จังหวัดชุมพร  พบว่า ปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ในระดับต่ า (0.5-1.5 เปอร์เซ็นต์) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ต่อ

               พืชอยู่ในระดับต่ า-ต่ ามาก (น้อยกว่า 12 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอยู่ในระดับ
               ปานกลางถึงสูง (15-60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 4.6-50)
                         1. ยางพารา  ใส่ปุ๋ยสูตร 20-20-0 อัตรา 0.50 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.30
               กิโลกรัมต่อต้น และปุ๋ยสูตร 46-0-0  อัตรา  0.10 กิโลกรัมต่อต้น ใส่ปีละ 2 ครั้งช่วงต้นฝนและปลายฝน

               ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 2 กิโลกรัมต่อต้น
                         2. ทุเรียน ครั้งที่ 1  ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15  อัตรา 2.14 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยสูตร 0-0-60
               อัตรา 0.14 กิโลกรัมต่อต้น และปุ๋ยสูตร 46-0-0  อัตรา 0.58 กิโลกรัมต่อต้น ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 5 กิโลกรัม
               ต่อต้น ระยะบ ารุงต้นหลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 2.21 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับ

               ปุ๋ยสูตร 0-0- 60 อัตรา 0.28 กิโลกรัมต่อต้น ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา10 กิโลกรัมต่อต้น ระยะเร่งดอก ครั้งที่ 3 ใส่
               ปุ๋ยสูตร 15-15-15  อัตรา 2.14 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.21 กิโลกรัมต่อต้น ใส่ปุ๋ย
               อินทรีย์ อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ระยะเร่งผล ครั้งที่ 4 ใส่ปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.17 กิโลกรัมต่อต้น ระยะ
               ปรับปรุงคุณภาพผลผลิต

                         3. ปาล์มน้ ามัน ใส่ปุ๋ยสูตร 21-0-0 อัตรา 3.30 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมปุ๋ยสูตร 18-46-1.1 กิโลกรัมต่อ
               ต้น ร่วมปุ๋ยสูตร  0-0-60 อัตรา 3.0 กิโลกรัมต่อต้น หรือปุ๋ยสูตรผสม 13-7-23 อัตรา 7.40 กิโลกรัมต่อต้น หรือ
               ปุ๋ยสูตรผสม 14-10-30 อัตรา 6.0 กิโลกรัมต่อต้น และ ปุ๋ยโบรอน 130 กรัมต่อต้น
                         4. กาแฟ อายุ 16 ปี (หลังตัดแต่งกิ่ง) ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 0.05 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ย

               18-46-0 อัตรา 0.016 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ย 0-0-60 อัตรา 0.100 กิโลกรัมต่อตันต่อปี หรือปุ๋ยสูตรผสม
               36- 9- 6 อัตรา 0.85 กิโลกรัมต่อต้น หรือปุ๋ยสูตรผสม 11-6-4  อัตรา1.30 กิโลกรัมต่อตันต่อปี ร่วมกับปุ๋ยสูตร
               46-0-0 อัตรา 0.35 กิโลกรัมต่อปี

                              กาแฟ (ก่อนออกดอก) ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 = 110 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมลับ 18-46-0 อัตรา
               0.27 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ยสูตร 0-0-60 อัตรา 0.13 กิโลกรัมต่อต้น หรือปุ๋ยสูตรผสม  20- 25-15 อัตรา
               0.53 กิโลกรัมต่อต้น หรือปุ๋ยสูตรผสม 12-24-12 อัตรา 0.70 กิโลกรัมต่อต้น
                              กาแฟ (ติดผล) ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0อัตรา 0.39 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับ 18-46-0 อัตรา 0.11
               กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับปุ๋ย  0-0-60 อัตรา210 กิโลกรัมต่อต้น หรือใส่ปุ๋ยสูตรผสม 28- 8-17 อัตรา 0.75

               กิโลกรัมต่อต้น.หรือปุ๋ยสูตรผสม 30-5-17 อัตรา 700 กิโลกรัมต่อต้น

                      4.2.3 ผลส าเร็จการด าเนินงาน

                         1. กิจกรรมฟื้นฟูปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน
                              1.1 การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า :  จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าครอบคลุมพื้นที่ 5,575
               ไร่ เกษตรกรได้รับประโยชน์จากกิจกรรมร้อยละ 80 ในด้านลดการชะล้างพังทลายของพื้นที่ ลดความเสื่อม

               โทรมของพื้นที่ ดินมีความชื้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 ลดการชะล้างพังทลายดินร้อยละ 90
                              1.2 ส่งเสริมาการปลูกหญ้าแฝก :  เกษตรกรได้รับประโยชน์จากกิจกรรมร้อยละ 90 ในด้าน
               ลดการชะล้างพังทลายของพื้นที่ ลดความเสื่อมโทรมของพื้นที่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น ผลผลิตเพิ่มขึ้น
               ร้อยละ 10  และรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81