Page 20 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       11


                       เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดย แรงโน้มถ่วงของ
               โลกของหินทราย และหินในกลุ่ม สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนชัน จนถึงพื้นที่เนินเขา มีความ

               ลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินตื้น มีการระบายน้ าดีถึงดี การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินดี การซึมผ่านได้ของ
               น้ าปานกลาง และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                       ดินระนองที่พบแบ่งแยกย่อยออกเป็น 3 ประเภท มีเนื้อที่รวม 741 ไร่ หรือร้อยละ 13.29 ของพื้นที่
               ด าเนินการ ได้แก่

                       หน่วยแผนที่  Rg-slD/E2  ชุดดินระนอง  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 12-20
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 312 ไร่ หรือร้อยละ 5.60 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่  Rg-slE/E2  ชุดดินระนอง  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 20-35
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 203 ไร่ หรือร้อยละ 3.64 ของพื้นที่ด าเนินการ

                       หน่วยแผนที่  Rg  -slE/E3  ชุดดินระนอง  เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีความลาดชัน  20-35
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนรุนแรง เนื้อที่รวม 226 ไร่ หรือร้อยละ 4.05    ของพื้นที่ด าเนินการ
                       4. ชุดดินท่าแซะ Te : Tha Sae การจ าแนกดิน Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic
               Kandiudults

                       เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงของ
               โลกของหินทรายหรือหินในกลุ่ม สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย จนถึงพื้นที่ลูกคลื่น
               ลอนชัน มีความลาดชัน 2-20 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าดี การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินเร็ว

               การซึมผ่านได้ของน้ าปานกลาง และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                       ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย มีสีน้ าตาล ดินล่างมี เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย มีสี
               น้ าตาล อุ้มน้ าของดินปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5) ในดินบนแล้วลดลงตาม
               ความลึก
                       ดินท่าแซะที่พบแบ่งแยกย่อยออกเป็น 4 ประเภท มีเนื้อที่รวม 879 ไร่ หรือ ร้อยละ 15.77 ของพื้นที่

               ด าเนินการ ได้แก่
                       หน่วยแผนที่  Te-slB  ชุดดินท่าแซะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
               เนื้อที่รวม 84 ไร่ หรือร้อยละ 1.51 ของพื้นที่ด าเนินการ

                       หน่วยแผนที่  Te-slB/E1  ชุดดินท่าแซะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 2-5
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนเล็กน้อย เนื้อที่รวม 50 ไร่ หรือร้อยละ 0.90 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่  Te-slC/E1  ชุดดินท่าแซะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 5-12
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนเล็กน้อย เนื้อที่รวม 500 ไร่ หรือร้อยละ 8.97 ของพื้นที่ด าเนินการ

                       หน่วยแผนที่  Te-slD/E2  ชุดดินท่าแซะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 12-20
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 245 ไร่ หรือร้อยละ 4.39 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       5) SC ที่ลาดเชิงซ้อน เนื้อที่รวม 1,732 ไร่ หรือร้อยละ 31.7 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       6) พื้นที่อื่น เช่น ชุมชน ถนน และแหล่งน้ า มีเนื้อที่รวม 79 ไร่ หรือร้อยละ 1.41 ของพื้นที่ด าเนินการ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25