Page 19 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       10


                       ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย มีสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 5.0-5.5)
               ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนถึงเป็นดินร่วนปน ดินเหนียว มีสีน้ าตาล มีจุดประสีแดงและดินล่างในช่วงความลึก

               60-100 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดิน เหนียวปนก้อนกรวดมาก มีสีน้ าตาล มี'จุดประสีแดงของศิลาแลงอ่อน
               (plinthite) และดินล่างสุดเป็น ดินร่วนปนดินเหนียว สีจุดประสีแดงของศิลาแลง (plinthite) มากกว่า 50
               เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาตร ภายในช่วงความลึก 150 เซนติเมตร ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก (pH  4.5-5.0)
               ความสามารถในการอุ้มน ้าของดินปานกลาง

                       ดินนาท่ามที่พบแบ่งแยกย่อยออกเป็น 4 ประเภท มีเนื้อที่รวม 703 ไร่ หรือร้อยละ 0.24 ของพื้นที่
               ด าเนินการ ได้แก่
                       หน่วยแผนที่  Ntm-slB/E1  ชุดดินนาท่าม เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีความลาดชัน   2-5
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนเล็กน้อย เนื้อที่รวม 29 ไร่ หรือร้อยละ 0.52 ของพื้นที่ด าเนินการ

                       หน่วยแผนที่  Ntm-slC/E1  ชุดดินนาท่าม เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีความลาดชัน   5-12
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนเล็กน้อย เนื้อที่รวม 574 ไร่ หรือร้อยละ 10.30 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่  Ntm-slD/E2  ชุดดินนาท่าม เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีความลาดชัน 12-20
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 78 ไร่ หรือร้อยละ 1.40 ของพื้นที่ด าเนินการ

                       หน่วยแผนที่  Ntm-slE/E3  ชุดดินนาท่าม เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีความลาดชัน 20-35
               เปอร์เซ็นต์  และมีการกร่อนรุนแรง เนื้อที่รวม 22 ไร่ หรือร้อยละ 0.40 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       2. ชุดดินพะโต๊ะ Pto : Phato การจ าแนกดิน Loamy-skeletal, mixed, semiactive, isohyperthermic

               Typic Hapludults
                       เกิดจากการผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือ เคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางใกล้ๆ พัดสภาพพื้นที่ที่พบมี
               ลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดจนถึงพื้นที่เนินเขา มีความลาดชัน 2-35 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึกปานกลาง การ
               ระบายน้ าดี การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินเร็ว การซึมผ่านได้ของน้ าเร็ว และความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                       ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีสีน ้าตาล ดินล่างมี เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย มีสีน้ าตาลถึงสี

               แดงปนเหลืองและพบก้อนหินเหลี่ยมของหิน ทรายระหว่างความลึก 50-100เซนติเมตรจากผิวดิน ปฏิกิริยาดิน
               เป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5) ตลอดหน้าตัดดิน
                       ดินพะโต๊ะที่พบแบ่งแยกย่อยออกเป็น 5 ประเภท มีเนื้อที่รวม 1398 ไร่ หรือ ร้อยละ 25.07 ของพื้นที่

               ด าเนินการ ได้แก่
                       หน่วยแผนที่ Pto-slB  ชุดดินพะโต๊ะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
               เนื้อที่รวม 34 ไร่ หรือร้อยละ 0.61 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่ Pto-slC/E1 ชุดดินพะโต๊ะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์

               และมีการกร่อนเล็กน้อย เนื้อที่รวม 367 ไร่ หรือร้อยละ 6.58 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่ Pto-slD/E2 ชุดดินพะโต๊ะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์
               และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 494 ไร่ หรือร้อยละ 8.86 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่ Pto-slE/E2 ชุดดินพะโต๊ะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์

               และมีการกร่อนปานกลาง เนื้อที่รวม 291 ไร่ หรือร้อยละ 5.22 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       หน่วยแผนที่ Pto-slE/E3 ชุดดินพะโต๊ะ เนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย มีความลาดชัน 20-35 เปอร์เซ็นต์
               และมีการกร่อนรุนแรง เนื้อที่รวม 212 ไร่ หรือร้อยละ 3.80 ของพื้นที่ด าเนินการ
                       3. ชุดดินระนอง Rg  :  Ranong  การจ าแนกดิน Loamy-skeletal,  mixed,  semiactive,  acid,

               isohyperthermic Lithic Udorthents
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24