Page 81 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 81

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        63


                            - การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยทั่วไปเกษตรกรมักใช้วิธีสังเกตการเจริญเติบโตของพืช

                   หากเห็นว่าแคระแกร็น  ใบสีเหลืองซีด  แสดงอาการขาดธาตุอาหาร  ก็จะท าการใส่ปุ๋ยเพิ่มในบริเวณนั้น
                   ซึ่งเป็นการวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้ในระดับหนึ่งเท่านั้น  แต่ในปัจจุบันการประเมินความอุดม
                   สมบูรณ์ของดินสามารถท าได้ละเอียด และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ท าให้เกษตรกรสามารถน าค่าวิเคราะห์ดินที่
                   ได้ไปประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน  และน าไปเลือกใช้ชนิดหรืออัตราของปุ๋ยเคมีได้อย่างมี

                   ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  โดยพิจารณาจากปริมาณความต้องการธาตุอาหารของพืชแต่ละชนิด  และ
                   ธาตุอาหารที่มีอยู่ในดิน หากดินมีธาตุอาหารชนิดใดอยู่มาก ก็ใส่ธาตุอาหารชนิดนั้นน้อย
                   โดยแสดงวิธีการใช้โปรแกรมการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง


                            4.1.5  การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนา
                   ลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว หมู่ที่ 2 ต าบลหลักด่าน อ าเภอน้ าหนาว
                   จังหวัดเพชรบูรณ์
                         1) การประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าและอัตราของการน้ าไหลบ่าในพื้นที่โครงการฯ จาก

                                   Q = CIA ……………………………………………………………………………………………..(1)
                                    Q = ปริมาณน้ าไหลบ่า มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร
                                   C = สัมประสิทธิ์น้ าไหลบ่า

                                    I = ปริมาณน้ าฝน มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อปี
                                   A = พื้นที่รับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกแตร์
                                ส่วนอัตราของน้ าไหลบ่า ประเมินได้จากสูตร q = CiA /360x6.25 ……………… (2)
                                  q = ปริมาณน้ าไหลบ่า มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
                                  C = สัมประสิทธิ์น้ าไหลบ่า

                                   i = ความรุนแรงของน้ าฝน มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรต่อชั่วโมง
                                    A = พื้นที่รับน้ า มีหน่วยเป็นไร่
                            จากการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าและอัตราของการน้ าไหลบ่าในพื้นที่โครงการฯ จึงได้แบ่งพื้นที่

                   ออกเป็น 3 ระดับ ตามความลาดชันของพื้นที่ เพื่อให้มีความถูกต้องมากขึ้น และสามารถก าหนดมาตรการ
                   รองรับได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ (ตารางที่ 8)
                                (1)  พื้นที่ที่มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ 60  ไร่ มีปริมาณน้ าไหลบ่า 5,800.27

                   ลูกบาศก์เมตร อัตราของน้ าไหลบ่า 18.23 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และได้ก่อสร้างอาคารชะลอความเร็ว
                   ของน้ าตามแบบโครงสร้างของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อเก็บกักน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้ง  และดักตะกอนดินไม่ให้ไหล
                   ลงสู่แหล่งน้ าด้านล่าง
                                (2) พื้นที่ที่มีความลาดชัน 25-35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่ 150 ไร่ มีปริมาณน้ าไหลบ่า 18,464.20

                   ลูกบาศก์เมตร อัตราของน้ าไหลบ่า 58.03 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที   และได้ก่อสร้างอาคารชะลอความเร็ว
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86