Page 79 - ผลสำเร็จของการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการพัฒนาลุ่มน้ำพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ำน้ำหนาว
P. 79

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        61


                                  4.3.3 ความต้องการของเกษตรกร

                                    (1) จัดหาปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย สารเคมี ในราคายุติธรรม (ร้อยละ 80.00)
                                    (2) ให้เอกสารสิทธิ์ที่ดินท ากิน (ร้อยละ 72.00)
                                    (3) ประกันราคาผลผลิต/พยุงราคาผลผลิต (ร้อยละ 72.00)
                                    (4) ให้ลดค่าครองชีพ เช่น ลดค่าไฟฟูา ค่าน้ าประปา ค่าน้ ามัน (ร้อยละ 68.00)

                                    (5) จัดหาหรือสร้างแหล่งน้ ากินน้ าใช้ (ร้อยละ 60.00)
                                    (6) จัดหาแหล่งน้ าเพื่อการเกษตร (ร้อยละ 56.00)
                                    (7) ปลด/ลดหนี้ให้เกษตรกร (ร้อยละ 52.00)
                                  นอกจากนี้ยังมีความต้องการให้จัดหาตลาดจ าหน่ายผลผลิต จัดให้มีการอบรม/จัดหา

                   อาชีพเสริม จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ขุดลอก ห้วย หนอง บึง สระ สร้างยุ้งฉาง/โรงเก็บ
                   ผลผลิตชุมชน ส่งเสริมเกี่ยวกับการปรับปรุงบ ารุงดิน ส่งเสริมและแนะน าเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน้ า
                   จัดสรรที่ดินท ากิน จัดหาแหล่งเงินทุน ปรับพื้นที่ไร่/นาให้สม่ าเสมอ ปรับปรุงซ่อม/สร้างถนน เป็นต้น
                            4.1.4  การจัดอบรมให้ความรู้และการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

                   อันเนื่องมาจากพระราชด าริโครงการพัฒนาลุ่มน้ าพัฒนาคุณภาพชีวิตในพื้นที่ต้นน้ าน้ าหนาว หมู่ที่ 2
                   ต าบลหลักด่าน อ าเภอน้ าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
                            จากการประเมินทัศนคติของเกษตรกรด้านการใช้ที่ดินและการได้รับบริการจากกรมพัฒนาที่ดิน

                   ต าบลหลักด่าน อ าเภอน้ าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่รู้จักกรมพัฒนาที่ดินมากขึ้น
                   โครงการฯ จึงได้มีการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีของกรมพัฒนาที่ดินให้กับเกษตรกร ดังนี้
                            1) การอนุรักษ์ดินและน้ า
                              (1) คูรับน้ าขอบเขา (คันดินแบบที่ 6)  ในพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่า 35  เปอร์เซ็นต์
                   โดยการใช้แรงงานคนเป็นการขุดเคลื่อนย้ายดิน โดยเริ่มขุดจากจุดกึ่งกลางของระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเข้า

                   ด้านในจนถึงแนวไม้หลักที่ปักไว้ ท าการเคลื่อนย้ายดินมาถมที่ต่ าด้านนอกท าเป็นที่ราบขั้นแคบๆ ให้มีความ
                   ลาดเทกลับเข้าด้านในประมาณ 10  เปอร์เซ็นต์ แบบไม่ต่อเนื่องกันและยาวไปตามแนวระดับของพื้นที่
                   ความกว้างของพื้นที่ราบคูรับน้ าขอบเขาประมาณ 1.5  เมตร คิดปริมาตรดินที่ด าเนินการขุด 1  เมตรต่อ

                   0.20 ลูกบาศก์เมตร หรือ 200 ลูกบาศก์เมตรต่อ  1  กิโลเมตร ระยะห่างของคูรับน้ าขอบเขา แต่ละขั้น
                   ประมาณ  8-10 เมตร ผันแปรไปตามความลาดชันของพื้นที่ ตัดความยาวของความลาดชันของพื้นที่ให้มี
                   ช่วงสั้นๆ เพื่อลดความรุนแรงของการไหลบ่าของน้ า และลดการชะล้างพังทลายของดิน และสามารถใช้
                   พื้นที่ระหว่างคูรับน้ าขอบเขา เป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด ถั่ว ส่วนพื้นที่ราบบนคูรับน้ าขอบเขา

                   ได้ยกตัวอย่างเกษตรกรบ้านธรรมวงศ์ ส่วนใหญ่นิยมปลูกยางพารา และไม้ผล บนคูรับน้ าขอบเขา
                   ส่วนขอบคันดิน ปลูกหญ้าแฝก เพื่อปูองกันการพังทลายของคันดิน และรักษาความชุ่มชื้นให้กับต้นไม้
                   ที่ปลูก
                                (2)  การปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า หญ้าแฝกสามารถปูองกันการชะล้าง

                   พังทลายของดิน และลดการไหลบ่าของน้ าฝนได้ ช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์และมีธาตุอาหารที่จ าเป็น
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84