Page 68 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          60




                     ประมาณ 1- 5 เซนติเมตร ซึ่งเพียงพอส าหรับน ามาใช้เป็นข้อมูลในการค านวณค่าความลาดชันของพื้นที่
                     โดยเฉลี่ยเพื่อน ามาเปรียบเทียบกับข้อมูลชั้นความลาดชันบนแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่ที่จัดท าขึ้น

                                         2.1) ก าหนดให้ใช้หมุดหลักฐานภาคพื้นดิน โครงการจัดท าแผนที่เพื่อการบริหาร
                     ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพย์สินของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหมุดโครงข่ายงานในการส ารวจ

                     รังวัดจุดตรวจสอบเพื่อการประเมินความถูกต้องของแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่ทุกจังหวัดเนื่องจาก

                     ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข เส้นชั้นความสูง แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสี ที่น ามาใช้ในการด าเนินงาน
                     ภายใต้โครงการนี้ จัดท าและอ้างอิงค่าพิกัดทางราบและทางดิ่ง มาจากหมุดหลักฐานภาคพื้นดินของ

                     กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยใช้เป็นหมุดส าหรับตั้งสถานีฐาน (Base  Station) หรือเป็นหมุด

                     หลักฐานแผนที่ส าหรับโครงข่ายงานในการสร้างหมุดหลักฐานใหม่ส าหรับตั้งสถานีฐาน
                                         2.2) ก าหนดให้ใช้ค่าพิกัดทางราบ (N,E) ของจุดตรวจสอบที่ได้จากการอ่านค่า

                     พิกัดจุดบนแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ตามที่ก าหนดไว้ เป็น
                     จุดเป้าหมายในการรังวัดพิกัดทางราบและทางดิ่งในภูมิประเทศ โดยใช้ฟังก์ชั่นการท างาน ระบบการน าหน

                     และการค้นหาเป้าหมายตามค่าพิกัดที่ก าหนดไว้ในเครื่องจีพีเอส ทั้งนี้ความแตกต่างของค่าพิกัดทางราบระหว่าง
                     จุดตรวจสอบที่รังวัดในภูมิประเทศ กับจุดตรวจสอบเดียวกันที่อ่านได้จากแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่

                     จะต้องมีความแตกต่างของค่าพิกัดตะวันออก (E) และค่าพิกัดเหนือ (N) ไม่ควรเกิน + 1 เมตร

                                         2.3) การรังวัดจุดตรวจสอบในภูมิประเทศให้ด าเนินการตามมาตรฐานระวางแผนที่
                     และแผนที่รูปแปลงที่ดินในที่ดินของรัฐ กมร. 202-2551  มาตรฐานการรังวัดด้วยเครื่องรับสัญญาณ

                     ดาวเทียม และมาตรฐานข้อก าหนดภูมิสารสนเทศพื้นฐานชั้นข้อมูลหมุดหลักฐานแผนที่ที่เกี่ยวข้องกับ

                     มาตรฐานการรังวัดด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม แบบ RTK มีรายละเอียดดังนี้
                                             (1) ใช้เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมแบบ 2 ความถี่หรือแบบหลายระบบ

                     ดาวเทียมน าหน  (dual-frequency  receiver  and  multi-GNSS  receiver)  ที่มีจ านวนช่องสัญญาณ
                     ดาวเทียมที่สามารถรับได้ ในเวลาเดียวกัน ไม่น้อยกว่า 12 ช่อง ความคลาดเคลื่อนของการรังวัดไม่เกิน 10

                     mm + 1 ppm ของระยะเส้นฐาน รับข้อมูลทั้งที่เป็นรหัส และเฟสคลื่นส่ง (Code and Carrier Phase
                     Observation) และมีอัตราการรับข้อมูลดาวเทียม (Observation Rate) ไม่ควรเกิน 5 วินาที / ครั้ง

                                             (2) เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมที่สถานีฐาน (Base  station) และเครื่องรับ

                     สัญญาณที่สถานีจร (Rover) ต้องรับข้อมูลจากดาวเทียมกลุ่มเดียวกันและช่วงเวลาเดียวกันไม่น้อยกว่า 5 ดวง
                                             (3) ก าหนดค่าความไม่แน่นอนในองค์ประกอบด้านเรขาคณิตของดาวเทียม

                     (Geometry Dilution of Precision: GDOP) ไม่เกิน 8

                                             (4) ระยะทางระหว่างสถานีฐานและสถานีจรต้องอยู่ในระยะที่สามารถส่งและรับ
                     คลื่นวิทยุหรือสัญญาณโทรศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยระยะห่างระหว่างสถานีฐานกับสถานีจรไม่ควรเกิน

                     30 กิโลเมตร
                                             (5) มุมกั้นท้องฟ้า (Mask Angle) หรือมุมสูงสุดเหนือเส้นขอบฟ้าที่มีสิ่งกีดขวาง

                     ไม่น้อยกว่า 15 องศา
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73