Page 67 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 67

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          59




                     ของพื้นที่โดยเฉลี่ยในแต่ละระดับชั้นความลาดชันในสัดส่วนที่เท่ากันและครบทุกระดับชั้นความลาดชัน
                     ที่ปรากฏอยู่บนแผนที่แสดงความลาดชันของแต่ละจังหวัดที่จัดท าขึ้น

                                         1.5) จุดตรวจที่ก าหนดจะต้องเป็นจุดที่สามารถเข้าถึงได้สะดวก สภาพพื้นที่เปิดโล่ง
                     มีความเหมาะสมในการรังวัดด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมจีพีเอส แบบ RTK โดยควรน าแผนที่ภาพถ่าย

                     ออร์โธสีและแผนที่สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในการคัดเลือกพื้นที่

                     และการก าหนดจุดตรวจสอบ
                                ภายหลังจากการก าหนดจุดตรวจสอบบนแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่ด้วยระบบ

                     สารสนเทศภูมิศาสตร์ส าหรับน าไปใช้เป็นจุดในการรังวัดพิกัดทางราบและทางดิ่งในภูมิประเทศได้ตามเกณฑ์

                     ที่ก าหนดไว้แล้ว ให้จัดท าไฟล์ข้อมูลจุดทดสอบพิกัดเหนือ(N) และพิกัดตะวันออก (E) ในระบบพิกัดยูทีเอ็ม
                     (UTM) พื้นหลักฐานสากล (WGS 84) โซน 47N หรือ 48N ตามต าแหน่งที่ตั้งของแต่ละจังหวัด ในรูปแบบ

                     ของไฟล์  Comma-separated  values  (*.CSV) หรือในรูปแบบอื่นที่สามารถน าเข้าข้อมูลผ่านโปรโตคอล
                     หรือโปรแกรมส าเร็จรูปทั่วไปได้




































                     ภาพที่ 5-6  ตัวอย่างการก าหนดจุดทดสอบเพื่อการประเมินความถูกต้องของแผนที่แสดงความลาดชัน

                                ของพื้นที่แต่ละจังหวัด


                                      2) การส ารวจรังวัดพิกัดจุดตรวจสอบในภูมิประเทศ เป็นขั้นตอนการรังวัดพิกัดทางราบ

                     และทางดิ่งของจุดตรวจสอบตามค่าพิกัดทางราบ(N, E) ที่อ่านค่าจากแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่
                     ที่จัดท าขึ้น โดยใช้วิธีการก าหนดต าแหน่งบนโลกด้วยดาวเทียมจีพีเอส โดยการรังวัดแบบจลน์ในทันที

                     (Real Time Kinematic survey : RTK) ซึ่งพิกัดของจุดตรวจสอบที่รังวัดในภูมิประเทศจะมีค่าความคลาดเคลื่อน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72