Page 154 - การจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 154

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          ๔๙


                             6) การตัดไม้ท าลายป่าหรือการก าจัดพืชที่ปกคลุมดิน
                                เกิดจากการกระท าเพื่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ ท าให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ดินขาดความชุมชื่น

                  หน้าดินไม่มีพืชปกคลุมจะถูกกระแสลม กระแสน้ า พัดพาหน้าดินไปได้ง่าย เกิดการพังทลายของหน้าดิน

                             7) การเกิดภัยธรรมชาติประเภทดินถล่มหรือโคลนถล่ม
                                จากสาเหตุดังกล่าว ส่งผลกระทบโดยตรงต่อข้อมูลความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์

                  ที่ได้จากการวิเคราะห์และจ าแนกข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1: 4,000 ซึ่งเป็นข้อมูลความสูง

                  ภูมิประเทศ ที่ได้จากการรังวัดภาพถ่ายทางอากาศ ปี พ.ศ.2545-2546 โดยปัจจุบันสภาพภูมิประเทศบางส่วน
                  มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพและความลาดชันของพื้นที่อย่างสิ้นเชิง ส่งผลให้ข้อมูลความลาดชัน

                  ของพื้นที่ อาจจะไม่ถูกต้องตรงตามสภาพภูมิประเทศปัจจุบัน
                             ดังนั้น การน าข้อมูลเชิงพื้นที่และแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ ภายใต้

                  โครงการจัดท าแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่ดิน ไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                  จ าเป็นต้องส ารวจรังวัดภาคพื้นดิน หรือใช้ข้อมูลจากแหล่งอื่นที่มีความละเอียดถูกต้องมากกว่า โดยเฉพาะบริเวณ

                  ที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพและความลาดชันของพื้นที่ เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นที่ที่มีความถูกต้อง

                  แม่นย า และเป็นปัจจุบัน
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159