Page 99 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       88







                              ดังนั้นสรุปได้ว่าการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ทางล้าเลียงในไร่นา กิจกรรมรณรงค์
                       ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก บ่อดักตะกอนดิน รวมทั้งกิจกรรมปรับปรุงบ้ารุงดิน เกษตรกรมีความพึง
                       พอใจมาก ท้าให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรดินได้อย่างยั่งยืน ลดต้นทุนการผลิต
                       และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเกษตรกรรอบข้างพื้นที่ด้าเนินงานและผู้ที่สนใจ

                       5.2 ข้อเสนอแนะ

                              5.2.1  ให้เกษตรกรในพื้นที่ด้าเนินการงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า และปรับปรุงบ้ารุงดิน
                       อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลต่อเกษตรกรอย่างยั่งยืน
                              5.2.2 การใช้ประโยชน์ที่ดินขาดการอนุรักษ์ดินและน้้ามาอย่างยาวนาน ท้าให้ทรัพยากรเสื่อม
                       โทรมลงอย่างเห็นได้ชัด ควรสร้างความตระหนักให้แก่เกษตรกรในการรู้จักรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้

                       สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน
                              5.2.3 ควรให้หน่วยงานบูรณาการในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร
                       ธรรมชาติ ทั้งก่อนด้าเนินการ และเมื่อโครงการเสร็จสิ้นแล้วให้มากยิ่งขึ้น เพื่อน้าไปสู่การอนุรักษ์
                       ทรัพยากรธรรมชาติต่อไป

                              5.2.4 ควรให้ค้าแนะน้าและจัดเวทีรับฟังปัญหาของเกษตรกรในพื้นที่ให้มากขึ้น เพื่อให้ทราบ
                       ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร ในด้านการพัฒนาที่ดิน

                       5.3 แนวทางการจัดการทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
                              5.3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีระบบการอนุรักษ์ดินและน้้า ที่เกษตรกรสามารถท้าได้ด้วยตนเอง

                       เช่น การปลูกหญ้าแฝก การปลูกพืชตามแนวระดับ การปลูกพืชสลับเป็นแถบ เป็นต้น
                              5.3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด
                              5.3.3 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยการปรับเปลี่ยนเป็นพืชพันธุ์ดีและจัดระบบการปลูกพืช
                       ให้เหมาะสมกับพื้นที่
                               5.3.4  เร่งด้าเนินการแก้ไขปัญหากรรมสิทธิ์  ในที่ดินด้านเกษตรกรรมเพื่อป้องกันการบุกรุก

                       ขยายพื้นที่ท้ากินเข้าไปในพื้นที่ป่าไม้
                              5.3.5 สนับสนุนให้ประชาชนและองค์กรในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร
                       ที่ดิน ทั้งด้านการอนุรักษ์ดินและน้้า ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิตที่

                       เหมาะสมและการป้องกันรักษาทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
                              5.3.6 ส่งเสริมการท้าเกษตรผสมผสาน เกษตรทางเลือกและเกษตรอินทรีย์
                                5.3.7 ส่งเสริมการป้องกันและก้าจัดศัตรูพืชโดยวิธีชีวภาพ เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมี
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104