Page 97 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       86







                                                             บทที่ 5

                                                        สรุปผลการศึกษา

                       5.1 สรุปผลการศึกษา
                              การด้าเนินงาน การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ลุ่มน้้าห้วยห้วยโป่ง

                       ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าปิงตอนบน ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าปิง พื้นที่ด้าเนินการ 2,030 ไร่ ด้าเนินงานในปี พ.ศ. 2560
                       พื้นที่บ้านบ้านทุ่งดินด้า หมู่ 6 ต้าบลเมืองนะ อ้าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษาหาก
                       ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้้ามีการชะล้างพังทลายของดินมีการสูญเสียตะกอนดินปีละ 23.66 ตันต่อไร่
                       ต่อปี ดังนั้นจึงได้ก้าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อลดการสูญเสียดังกล่าวดังต่อไปนี้ โดยบูรณาการ

                       กิจกรรมการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า การปรับปรุงบ้ารุงดิน ดังนี้ คันคูรับน้้าขอบเขา (คันดินแบบ
                       ที่ 5) จ้านวน 79.34 กิโลเมตร คันดินเบนน้้า จ้านวน 3.56 กิโลเมตร ทางล้าเลียงในไร่นา จ้านวน
                       1.312 กิโลเมตร ปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้้า จ้านวน 700,000 กล้า บ่อดักตะกอนดิน
                       จ้านวน 6 จุด และสามารถลดการสูญเสียดินได้เหลือ 3.87 ตันต่อไร่ต่อปี

                              ผลการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ตามกิจกรรมที่ได้
                       ด้าเนินการพื้นที่ในโครงการฯส่งผลมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า ทั้งวิธีกลและวิธีพืช จะช่วยลดการชะ
                       ล้างพังทลายของดิน ชะลอความเร็วของน้้า ลดการไหลบ่าของน้้าในพื้นที่ เพิ่มความสามารถในการซาบ

                       ซึมน้้าของดิน น้้าส่วนที่เหลือจะไหลลงสู่ล้าห้วยและบ่อดักตะกอนดิน เก็บกักน้้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง ท้าให้
                       เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน สามารถลดการชะล้างพังทลายของดินโดย
                       ลดปริมาณตะกอนดิน เหลือ 5,010 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี นอกจากนี้การสร้างทางล้าเลียง ช่วยให้
                       เกษตรกร สามารถขนส่งปัจจัยการผลิตเข้าไปในพื้นที่ และขนผลผลิตออกจากพื้นที่สู่ถนนหลักได้
                       สะดวก และรวดเร็ว เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น

                              การวางแนวทางการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตเกษตรกรรมได้มีการวางแผนการใช้ที่ดินให้
                       เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยส่งเสริมการปลูกพืชให้ถูกวิธี  มีระบบชลประทาน สามารถน้าน้้ามา
                       สนับสนุนการเกษตรในช่วงฤดูแล้ง ส่งเสริม และสนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมัก มาใช้

                       ท้าการเกษตรอย่างเหมาะสม การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เกษตรที่มีความเสื่อมโทรมและ
                       การสูญเสียหน้าดินสูง หรือพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ควบคู่กับการปรับปรุงบ้ารุงดิน โดยใช้ปุ๋ยหมัก
                       สูตรพระราชทาน และการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเหลื่อมพืชตระกูลถั่ว  เพื่อท้าการเกษตรได้อย่างมี
                       ประสิทธิภาพ และยั่งยืนต่อไป โดยมีกิจกรรมปรับปรุงบ้ารุงดิน คือ ส่งเสริมการปลูกข้าวโพดโดยไม่เผา

                       ตอซังร่วมกับพืชตระกูลถั่ว จ้านวน 100 ไร่ สาธิตการท้าปุ๋ยหมักสูตรพระราชทาน จ้านวน 140 ตัน
                       และสาธิตการใช้พืชปุ๋ยสด (ปอเทือง) จ้านวน 30 ไร่
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102