Page 98 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       87







                              จากการตรวจติดตามผลการด้าเนินงานตามค้ารับรองการปิิบัติราชการในระดับผลลัพธ์
                       (outcome) ประจ้าปี 2560 ร้อยละความพึงพอใจของเกษตรกรต่อการปลูกหญ้าแฝก และเกษตรกร
                       ในพื้นที่ที่ได้รับการอนุรักษ์ดินและน้้า สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรได้ สรุป
                       ได้ดังนี้

                               ด้านสถานภาพทางสังคม พบว่าผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมดมีสถานภาพทางสังคมเป็น เกษตรกร
                       ทั่วไป มีอาชีพหลัก คือ เกษตรกร อาชีพรอง คือ รับจ้างทั่วไป ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ ร้อยละ
                       71.43 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ที่เหลือจบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา ด้านเอกสารสิทธิ์
                       พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมดมีเอกสารสิทธิ์เป็น ส.ป.ก. 4-01

                              ส้าหรับพื้นที่ท้าการท้าการเกษตร ผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งหมดมีพื้นที่ส้าหรับปลูกข้าวโพด และถั่ว
                       แดง ลักษณะของพื้นที่ พบว่า ร้อยละ 57.14 ของผู้ให้สัมภาษณ์ มีลักษณะเป็นที่ลุ่ม ที่เหลือร้อยละ
                       42.86 เป็นที่ดอน มีลักษณะดินในการท้าการเกษตรส่วนใหญ่ ร้อยละ 85.71 เป็นดินร่วน ที่เหลือเป็น
                       ดินร่วนปนทราย  ส่วนปัญหาดินในพื้นที่คือ เป็นดินกรด

                              ในด้านกิจกรรมย่อยที่ได้รับประโยชน์จากโครงการฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของ
                       ดิน คือ รณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก โดยมีลักษณะการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
                       แบบรณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก

                              ในด้านประเภทของระบบอนุรักษ์ดินและน้้าทั้งหมดด้าเนินการบนที่สูง ซึ่งพื้นที่ที่มีการฟื้นฟู
                       และป้องกันการชะล้างพังทลายของดินมีการจัดท้า คันดินเบนน้้า คันคูรับน้้าขอบเขา ทางล้าเลียงในไร่
                       นา อาคารควบคุมน้้า แถบหญ้าแฝกและอื่น ๆ และบ่อดักตะกอน
                              ในด้านความเป็นประโยชน์ของกิจกรรมฟื้นฟูและป้องกันการชะล้างพังทลายของดินที่ผู้ให้
                       สัมภาษณ์ได้รับ ส่วนใหญ่พบว่าความเป็นประโยชน์ที่เกิดขึ้นในด้านต่างๆ จะอยู่ในระดับมาก คือลด

                       การชะล้างพังทลายของพื้นที่ ลดความเสื่อมโทรมของพื้นที่ และดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น
                       รองลงมาอยู่ในระดับปานกลาง คือ รายได้เพิ่มขึ้น ที่เหลืออยู่ในระดับน้อย คือ ผลผลิตเพิ่มขึ้น
                              ส้าหรับประเด็นปัญหาที่ได้จากผู้ให้การสัมภาษณ์ พบว่า ในกลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์มีปัญหาระดับ

                       ปานกลาง คือ หญ้าแฝกที่ได้รับไม่เพียงพอ และระบบอนุรักษ์ดินและน้้าไม่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                       รองลงมาพบปัญหาระดับน้อย คือ เกษตรกรไม่ให้ความร่วมมือ และเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น
                       น้้าท่วม ภัยแล้ง ฯลฯ ที่เหลือพบปัญหาระดับปานกลาง คือ เจ้าหน้าที่ไม่มีมีค้าแนะน้าในการใช้วัสดุ
                       ปรับปรุงบ้ารุงดิน และเข้ามาให้ค้าปรึกษาแนะน้าในพื้นที่น้อย

                              ข้อเสนอแนะที่ได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่ พบว่า เกษตรกรต้องการเส้นทาง
                       ล้าเลียงในไร่นา สนับสนุนหรือกิจกรรมที่กรมพัฒนาที่ดินได้เข้าไปด้าเนินการในพื้นที่ตรงกับความ
                       ต้องการของเกษตรกรในพื้นที่ สามารถช่วยลดปัญหาในพื้นที่ได้ แต่ก็มีส่วนน้อยที่ไม่สามารถช่วยลด
                       ปัญหาในพื้นที่ได้เนื่องจากเป็นผลมาจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมและการจัดการในพื้นที่เป็นหลัก
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103