Page 69 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       58







                 ตารางที่ 10 ปริมาณน้ าไหลบ่าของพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยโป่ง  ลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าปิงตอนบน
                              ลุ่มน้ าหลักแม่น้ าปิง บ้านทุ่งดินด า หมู่ 6 ต าบลเมืองนะ อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

                                              C                    I             A           ปริมาณน้ าไหลบ่า (Q)
                       พื้นที่รับน้ า   (สัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า)  (มิลลิเมตรต่อปี)   (ไร่)   (ลูกบาศก์เมตร)


                           A                 0.65              1,215.68        930.74            117,674.13

                           B                 0.65              1,215.68        768.08            97,108.91
                           C                 0.70              1,215.68        181.02            24,646.99
                           D                 0.65              1,215.68        100.88            12,754.33

                           E                 0.60              1,215.68        150.60            17,575.81
                           F                 0.60              1,215.68        206.98            24,155.65
                           G                 0.60              1,215.68        378.65            44,190.45
                                              รวมปริมาณน้ าไหลบ่า                                338,106.27


                              จากการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าและอัตราการไหลบ่าของน้ า พบว่า พื้นที่ด าเนินการบ้าน
                       ทุ่งดินด า หมู่ 6 ต าบลเมืองนะ อ าเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ มีปริมาณน้ าไหลบ่ารวมทั้งสิ้น
                       338,106.27 ลูกบาศก์เมตร และอัตราการไหลบ่าของน้ าในพื้นที่ อยู่ระหว่าง 2.04-18.82  ลูกบาศก์
                       เมตรต่อวินาที

                              4.4 การวิเคราะห์เพื่อด าเนินการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                                  จากการศึกษาข้อมูลดิน การใช้ประโยชน์ที่ดินและปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และ
                       ข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ประกอบกับสภาพปัญหาการใช้ที่ดินของเกษตรกรเพื่อน ามาใช้
                       เป็นข้อมูลในการออกแบบงานจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ด าเนินการ พบว่าสภาพพื้นที่มี

                       ปัญหาในด้านการชะล้างพังทลายค่อนข้างสูงเนื่องจากสภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเนินเขาถึงเป็นพื้นที่สูง
                       ชัน  มีความลาดชัน 5-75 เปอร์เซ็นต์ การใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เป็นพืชเชิงเดี่ยว โดยปลูก
                       ข้าวโพดเป็นหลักการท าเกษตรในพื้นที่ดังกล่าว จึงท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน จ าเป็นต้องมี
                       การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าเพื่อลดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน

                               การวิเคราะห์การออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ าพิจารณาจากแบบมาตรฐานการอนุรักษ์
                       ดินและน้ าโดยวิธีกล และวิธีพืชของกรมพัฒนาที่ดินได้พิจารณาจากสภาพพื้นที่แล้วพบว่าพื้นที่
                       โครงการควรมีการด าเนินการโดยจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนที่สูง   เนื่องจากสภาพพื้นที่ที่อยู่สูง

                       จากระดับน้ าทะเลตั้งแต่ 500 เมตร ขึ้นไป หรือมีความลาดเทมากกว่าร้อยละ 15 ส่วนมากเป็นพื้นที่ต้น
                       น้ า สภาพพื้นที่เป็นที่ป่า ในการพิจารณาแบบมาตรฐานมาตรการอนุรักษ์ดินละน้ าโดยวิธีกล   โดยการ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74