Page 23 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                       ชั้นสะสมดินเหนียวที่ความลึกต่้ากว่า 100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีสีเทาปนชมพู น้้าตาลซีด มีเนื้อดิน
                       เป็นดินร่วนปนทรายและเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายในดินล่างลึกลงไป พบจุดประสีน้้าตาลแก่ เหลือง

                       ปนแดง แดงปนเหลืองในดินชั้นล่างนี้ด้วย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน้อย (pH 4.5-6.5)
                              ข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์ คือ ดินความอุดมสมบูรณ์ต่้า เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้้า

                              ชุดดินน้้าพองที่พบมี 1 ประเภท ได้แก่
                              หน่วยแผนที่ Ng-lsB/d5,E0 : ชุดดินน้้าพอง ที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน ความลาด

                       ชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 42 ไร่ หรือ 1.05 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่

                              5. ชุดดินอุบล (Ub)
                              การจ้าแนกดิน : Loamy, siliceous, semiative, isohyperthermic Aquic (Grossarenic)

                       Halpustalfs

                              พบบริเวณพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับ
                       ถมบริเวณส่วนต่้าของพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน  สภาพพื้นที่มีลักษณะราบเรียบถึงค่อนข้าง

                       ราบเรียบ  ความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์  เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้้าค่อนข้างเลว ดินมี

                       ความสามารถให้น้้าซึมผ่านได้ช้าถึงปานกลาง การไหลบ่าของน้้าบนผิวดินช้า  และความอุดมสมบูรณ์
                       ต่้า

                              ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน สีน้้าตาล สีน้้าตาลปนเทา มีจุดประสีน้้าตาลปน

                       เหลืองเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH  5.5-6.5) ดินล่างตอนบนมีเนื้อดินเป็นดิน
                       ทรายปนดินร่วน สีน้้าตาล มีจุดประสีน้้าตาลปนเหลืองเข้ม สีน้้าตาลแก่ ส่วนดินล่างตอนล่างที่

                       ความลึก 100-200 เซนติเมตร เป็นดินร่วนปนทราย สีน้้าตาล น้้าตาลปนเทา มีจุดประสีน้้าตาลแก่
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.5-7.0)

                              ข้อจ้ากัดการใช้ประโยชน์ คือ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า โครงสร้างดินไม่ดี ในฤดูแล้งดินจะ

                       แห้งจัด
                              ชุดดินอุบลที่พบมี 1 ประเภท ได้แก่

                              หน่วยแผนที่ Ub-lsA/d5,E0 : ชุดดินอุบล ที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน ความลาด
                       ชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 379 ไร่ หรือ 9.48 เปอร์เซ็นต์

                              6. ดินอุบลที่เป็นชั้นทรายหนา (Ub-tks)

                              การจ้าแนกดิน : Sandy, siliceous, semiative, isohyperthermic Aquic (Grossarenic)
                       Halpustalfs

                              พบบริเวณพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับ

                       ถมบริเวณส่วนต่้าของพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน  สภาพพื้นที่มีลักษณะราบเรียบถึงลูกคลื่นลอน
                       ลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้้าค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28