Page 22 - การพัฒนาและป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินเค็มในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำลำเสียวน้อยตอนบน - ห้วยกุดแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       13







                       หน้าตัดดิน ในดินล่างลึกกว่า 1 เมตรลงไป เป็นดินร่วน สีเทาปนเขียว ปฏิกิริยาเป็นด่างเล็กน้อยถึง
                       ด่างจัด (pH 7.5-8.5)

                              ข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์  คือ เป็นดินเค็มด่าง มีเกลือโซเดียมสูง  จนเป็นพิษต่อพืช และ
                       มีเนื้อดินบนค่อนข้างเป็นทราย โครงสร้างดินไม่ดี

                              ดินกุลาร้องไห้ที่เป็นดินร่วนหยาบที่พบมี 1 ประเภท ได้แก่

                              หน่วยแผนที่ Ki-col-slA/d5,E0 :  ดินกุลาร้องไห้ที่เป็นดินร่วนหยาบ เนื้อดินบนเป็นดินร่วน
                       ปนทราย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 491 ไร่ หรือ 12.28

                       เปอร์เซ็นต์
                              3. ชุดดินโนนแดง (Ndg)

                              การจ้าแนกดิน : Coarse-loamy, Siliceous Aquic Kandiustalfs

                              พบบริเวณตะพักล้าน้้า เกิดจากการตะกอนน้้าพัดพามาทับถม  สภาพพื้นที่มีลักษณะราบเรียบ
                       ถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ ชุดดินนี้เป็นดินลึก มีการระบายน้้า ค่อนข้างเลว

                       ดินมีความสามารถให้น้้าซึมผ่านได้ปานกลาง การไหลบ่าของน้้าบนผิวดินช้า และความอุดมสมบูรณ์ต่้า

                              ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย มีสีเทาหรือน้้าตาลปนเทา มีจุดปะสีน้้าตาลปนเหลือง
                       ปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ส่วนดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย

                       สีน้้าตาล มีจุดประสี และพบจุดประสีเทาภายในความลึก 75 เซนติเมตร จากผิวหน้าดิน ปฏิกิริยาเป็น

                       กรดปานกลางถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 6.0-6.5)
                              ข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์ คือ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า

                              ชุดดินโนนแดงดินโนนแดงที่พบมี 2 ประเภท ได้แก่
                              หน่วยแผนที่ Ndg-slA/d5,E0 : ชุดดินโนนแดง ที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความลาดชัน

                       0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 446 ไร่ หรือ 11.15 เปอร์เซ็นต์

                              หน่วยแผนที่ดิน Ndg-slB/d5,E0 :  ชุดดินโนนแดง ที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ความ
                       ลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 312 ไร่ หรือ 7.80 เปอร์เซ็นต์

                              4. ชุดดินน้้าพอง (Ng)
                              การจ้าแนกดิน : Loamy, siliceous, isohyperthermic Grossarenic Haplustalfs

                              พบบริเวณพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผ่นดิน เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมา

                       ทับถม สภาพพื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 2-5 เปอร์แซ็นต์ เป็นดินลึก
                       มีการระบายน้้าดีถึงค่อนข้างมาก ดินมีความสามารถให้น้้าซึมผ่านได้เร็ว การไหลบ่าของน้้าบนผิวดิน

                       เร็ว และความอุดมสมบูรณ์ต่้า

                              ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน สีน้้าตาลปนเทา  สีน้้าตาล  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด
                       มากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ส่วนดินล่างเป็นดินทรายปนดินร่วน สีชมพู สีน้้าตาลซีดมาก พบ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27