Page 46 - การวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินระดับลุ่มน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาลำเชิงไกร
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       33








                                    1.2) ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดโคกกรวด  (Khok  Kruat Aquifers : Kk ) ลักษณะปิดทับ
                       ด้วยชั้นบางๆ ของกรวดทรายและดินเหนียว โดยประกอบไปด้วยหินทรายแป้งหินดินดาน บางส่วนมี
                       หินทรายเม็ดละเอียด
                                    1.3) ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดภูพาน (Phu Phan Aquifers : Pp) เป็นหินทรายเนื้อหยาบ

                       กว่าหน่วยหินพระวิหาร แต่เป็นหินทรายที่มีความแข็งแกร่งทนทาน  เช่นเดียวกัน ดังนั้น หินทั้งสอง
                       หน่วยนี้จะพบอยู่ตอนบนสุดของภูเขาหินทรายทั่วไปในภาคอีสาน มีสารคารบอเนต และแรไมกาปน
                       มากกว่าหน่วยหินพระวิหาร บางครั้งพบกรวดปนมีสีเทา เหลือง ส้มอ่อน ชมพู และแดงอ่อน มีความ
                       หนาประมาณ 1-183 เมตร

                                    1.4) ชั้นหินอุ้มน้้าหินชุดมหาสารคาม (Maha Sarakham Aquifers : Ms) มีลักษณะ
                       ปิดทับด้วยชั้นบางๆ ของกรวดทรายและดินเหนียว โดยประกอบไปด้วยหินทรายแป้งหินดินดาน
                       บางส่วนมีหินทรายเม็ดละเอียด จะมีชั้นของเกลือหินอยู่ด้านล่าง ฉะนั้น การพัฒนาน้้าบาดาลควรจะมี
                       ความลึกประมาณ 15-40 เมตร ถ้าลึกมากกว่านี้ โอกาสที่จะได้น้้าเค็มจะสูงปริมาณน้้า โดยเฉลี่ยจะอยู่ที่

                       2-10 บาศก์เมตรต่อชั่วโมง  บางพื้นที่จะมีปริมาณน้อยกว่า 2  ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง ในขณะที่บาง
                       แห่งจะมีปริมาณ 10-20  ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง หรือสูงมากกว่า 20  ลูกบาศก์เมตรต่อเซนติเมตร
                       คุณภาพน้้าส่วนใหญ่จะจืดบางพื้นที่คุณภาพน้้าจะกร่อยหรือเค็ม ซึ่งจะปรากฏกระจายเป็นหย่อมอยู่

                       ทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นที่ลุ่ม หรือที่ต่้า
                                  2) คุณภาพน้้าใต้ดินและศักยภาพในการพัฒนาน้้าใต้ดิน
                                    ในการศึกษาคุณภาพน้้าใต้ดินของลุ่มน้้าสาขาล้าเชิงไกร พิจารณาจากอัตราการให้น้้า (yield)
                       และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้้าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (TDS) ดังตารางที่ 7
                       เพื่อหาเนื้อที่ที่ควรส่งเสริมให้มีการจัดการน้้าและการพัฒนาน้้าใต้ดินให้เป็นพื้นที่ที่เหมาะสมต่อ

                       การท้าการเกษตร และการอุปโภคบริโภค กรมทรัพยากรน้้าบาดาล (2558)ได้ด้าเนินการส้ารวจและ
                       ตรวจพบว่ามีพื้นที่ที่มีอัตราการให้น้้า อยู่ในช่วง 5-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง มีเนื้อที่มากที่สุดในพื้นที่
                       ลุ่มน้้าล้าเชิงไกร จ้านวน  709,567  ไร่ หรือร้อยละ 38.39 ของลุ่มน้้าสาขา และก็พบว่าพื้นที่ดังกล่าวมี

                       ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้้าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าที่มากกว่า 1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร
                       ซึ่งสามารถน้าน้้ามาใช้เพื่อการเกษตรมากกว่าการใช้เพื่ออุปโภค หากน้ามาบริโภคจะต้องผ่านการ
                       ตรวจสอบอย่างละเอียดตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก้าหนดหลักเกณฑ์
                       และมาตรการส้าหรับการป้องกันด้านสาธารณสุขและการป้องกันในเรื่องสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ พ.ศ. 2551

                       (ราชกิจจานุเบกษา, 2551)
                                    เมื่อพิจารณาร่วมกับแผนที่อุทกธรณีวิทยา ซึ่งเป็นแผนที่ที่อธิบายลักษณะชั้นหินอุ้มน้้า
                       จะเห็นได้ว่าบริเวณพื้นที่ที่มีอัตราการให้น้้า อยู่ในช่วง 5-10  ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง อยู่ในบริเวณ
                       ชั้นหินอุ้มน้้าชุดมหาสารคามเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งบริเวณนี้พบชั้นของเกลือหินอยู่ด้านล่าง ฉะนั้นการ

                       พัฒนาน้้าบาดาลควรจะมีความลึกประมาณ 15-40  เมตร ถ้าลึกมากกว่านี้ โอกาสที่จะได้น้้าเค็มจะสูง
                       เกษตรกรบางรายได้ด้าเนินการขุดไปแล้วพบว่าฤดูแล้งจะท้าให้น้้าบริเวณดังกล่าวมีรสกร่อยและเค็ม
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51