Page 12 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 12
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
5
2. ข๎อมูลที่รวบรวมจากภายในกรมพัฒนาที่ดิน ประกอบด๎วย ข๎อมูลทางด๎านกายภาพ
สภาพแวดล๎อม โดยมีรายละเอียดของข๎อมูลดังนี้
2.1 แผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2553 และ 2559)
2.2 ข๎อมูลดินและแผนที่ดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558ก, 2558ข, 2558ค และ 2558ง)
2.3 ข๎อมูลอื่นๆ ตามความจําเป็น
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ข๎อมูลเบื้องต๎นเพื่อหาแนวทางออกไปเก็บข๎อมูล ภาคสนามโดยมี
รายละเอียดตํอไปนี้
1. วิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
วิเคราะห์การกระจายของน้ําฝน จํานวนวันที่ฝนตกในแตํละเดือน ปริมาณฝนที่ตกใน
แตํละเดือน วิเคราะห์อุณหภูมิ ความชื้นสัมพันธ์ วิเคราะห์ความสมดุลของน้ําเพื่อการเกษตร เพื่อ
ศึกษาชํวงที่มีปริมาณน้ําฝนพอเพียงตํอการเพาะปลูก และระยะเวลาที่ฝนทิ้งชํวง
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ ทําให๎สามารถประเมินได๎วํามีพืชชนิดใดบ๎างที่เหมาะ
ตํอ สภาพภูมิอากาศในแตํละพื้นที่ ชํวงใดเสี่ยงตํอการปลูกพืช ทําให๎สามารถใช๎เป็นแนวทางในการ
เสนอแนะระบบการปลูกพืชที่เหมาะสมในพื้นที่ลุํมน้ําได๎
2. การวิเคราะห์ทรัพยากรน้ํา
วิเคราะห์แหลํงน้ําธรรมชาติทั้งน้ําผิวดินและน้ําใต๎ดิน และลักษณะของที่ดินเพื่อ
ศึกษา ความเหมาะสมวํามีที่ดินบริเวณใดบ๎างที่มีศักยภาพที่จะพัฒนาระบบชลประทานได๎ (irrigable
land) สําหรับการวิเคราะห์พื้นที่รับน้ําชลประทานจําเป็นต๎องรอข๎อมูลจากการสํารวจภาคสนาม
3. การวิเคราะห์ทรัพยากรปุาไม๎
ในเบื้องต๎นวิเคราะห์สถานการณ์ปุาไม๎ตามกฎหมายวําในปัจจุบันมีเนื้อที่อยูํเทําใด
มีการบุกรุกปุาหรือไมํ เป็นเนื้อที่เทําใด โดนบุกรุกอยํางถาวรหรือชั่วคราว พื้นที่ถูกบุกรุกเป็นพื้นที่
ต๎นน้ําลําธารหรือเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตํอการเกษตรหรือไมํ สําหรับพื้นที่นอกเขตปุามีบริเวณ
ใดบ๎างที่สามารถจะกําหนดเพิ่มเป็นพื้นที่ปุาไม๎ได๎ โดยเฉพาะพื้นที่ที่ไมํเหมาะสมตํอการเกษตร โดยมี
ขั้นตอนการจัดทําดัง ภาพที่ 2
4. การวิเคราะห์ทรัพยากรดิน
วิเคราะห์สถานภาพทรัพยากรที่ดิน ปัญหาของทรัพยากรดินในการใช๎ประโยชน์ โดย
การวิเคราะห์ข๎อมูลที่ได๎รับตํอจากนักสํารวจดินในการวิเคราะห์และจัดทําหนํวยที่ดิน (Land Unit:
LU) ซึ่งจะทําการรวบรวมข๎อมูลดินชุดตํางๆ (soil series) หรือกลุํมดินที่ มีลักษณะทางกายภาพและ
เคมีของดินคล๎ายคลึงกันแตํจะต๎องมีความแตกตํางกันอยํางเดํนชัดในแงํของคุณภาพดิน (Land
Quality: LQ) ที่จะมีผลตํอความต๎องการของการใช๎ที่ดิน (land use requirements) ให๎เป็นหนํวย
เดียวกัน สํวนการวิเคราะห์และจัดทําหนํวยที่ดิน จะนําไปพิจารณากับปัจจัยด๎านอื่นๆ เชํน พื้นที่รับน้ํา
ชลประทาน (irrigated area) การพัฒนาที่ดิน เชํน การจัดรูปที่ดิน การจัดระบบอนุรักษ์ดินและ น้ํา
สภาพพื้นที่ (landform) และอิทธิพลเฉพาะที่ (site effect) เชํน ปัญหาดินเค็ม ดินเปรี้ยว น้ําทํวม
พื้นที่ ความลึกของระดับการแชํขังของน้ํา ไมํมีการสร๎างระบบปูองกันน้ําทํวม เป็นต๎น สําหรับแหลํงน้ํา
ต๎องไปศึกษาในภาคสนามแล๎วนํากลับมาวิเคราะห์จัดทําเป็นหนํวยที่ดินตํอไป