Page 14 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         7







                                    2.  การตรวจสอบผลการวิเคราะห์ข๎อมูลเบื้องต๎น เพื่อหาเหตุและผล เป็นการสํารวจ
                       ภาคสนาม ดูสภาพจริงของพื้นที่เพื่อเก็บรวบรวมปัญหา ข๎อเท็จจริงเพื่อนํามาวิเคราะห์
                                        2.1 การตรวจสอบความเป็นไปได๎ของการวิเคราะห์ความสมดุลของน้ํา เชํน เพื่อ
                       วิเคราะห์ได๎วํามีฝนทิ้งชํวงในชํวงฤดูปลูกหรือไมํ จําเป็นต๎องมาตรวจสอบในภาคสนามโดยสอบถามจาก

                       เกษตรกรวําเกิดความแห๎งแล๎งจริงหรือไมํ เกิดบํอยแคํไหน ในรอบปีหรือรอบหลายปี ชํวงฝนตกเพียงพอ
                       จริงหรือไมํ
                                        2.2 บริเวณที่มีน้ําใต๎ดินในปริมาณมากและอยูํในระดับตื้น ได๎มีการพัฒนาขึ้นมาใช๎หรือไมํ
                                        2.3 สํารวจพื้นที่ปุาที่โดนบุกรุก เพื่อหาสาเหตุของการบุกรุก พื้นที่ที่โดนบุกรุก

                       ปัจจุบันมีการถือครองอยํางถาวรหรือไมํ หรือทําเป็นไรํเลื่อนลอย เกษตรกรที่บุกรุกเป็นคนในท๎องถิ่น
                       หรือ ภายนอก และพื้นที่นอกเขตปุาสงวนแหํงชาติที่กําหนดเป็นเขตปุามีปัญหาด๎านการถือครองที่ดิน
                       หรือไมํ เป็นต๎น
                                        2.4   รวบรวมและตรวจสอบข๎อมูลจากหนํวยงานในพื้นที่และเกษตรกรวํา

                       ประสิทธิภาพในการผลิตที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง เนื่องมาจากสาเหตุใด
                                    3.  ศึกษาปัญหาการเพาะปลูกพืช
                                        3.1 ด๎านพันธุ์พืช
                                        3.2 ชนิดและปริมาณปุ๋ยและยาปราบศัตรูพืช มีการใช๎ถูกต๎องหรือไมํ
                                        3.3 โรคแมลงและศัตรูพืชระบาดรุนแรงเพียงใด ระบาดชํวงไหน
                                        3.4 แรงงานที่ใช๎ในการผลิตมีปัญหาหรือไมํ
                              ขั้นตอนที่ 6   การประเมินความเหมาะสมทางกายภาพ

                                    เป็นการวิเคราะห์และประเมินความเหมาะสมของข๎อมูลทางกายภาพโดยใช๎ข๎อมูล
                       หนํวยที่ดิน ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินมาประกอบเพื่อประเมินความเหมาะสมของหนํวยที่ดิน
                       สําหรับพืชเศรษฐกิจที่พบมากในพื้นที่ ประเมินความเหมาะสมของที่ดินด๎านกายภาพ จะนําประเภท
                       การใช๎ประโยชน์ที่ดินมาประเมินวําความเหมาะสมของที่ดินของแตํละหนํวยที่ดิน เหมาะสมตํอ
                       ประเภทการใช๎ประโยชน์ที่ดินในรูปแบบใดบ๎าง
                                    1.  คุณภาพที่ดิน (Land  Quality,  LQ) คือ สมบัติของหนํวยที่ดินที่มีอิทธิพลตํอการ
                       เจริญเติบโตและผลผลิตของพืช คุณภาพที่ดินอาจประกอบด๎วยคุณลักษณะที่ดิน (land
                       characteristic) ตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได๎ เชํน สภาวะการเขตกรรม คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน
                       คือ ชั้นความยากงํายในการเขตกรรม (ดินบน) หรือความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร คุณลักษณะที่ดินที่
                       เป็นตัวแทน คือ ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก และความอิ่มตัวด๎วยประจุบวกที่เป็นดําง
                                        1.1 การคัดเลือกคุณภาพที่ดิน สําหรับประเทศไทย คุณภาพที่ดินที่สมควรนํามาประเมินมี
                       ดังนี้
                                            1.1.1 ความชุํมชื้นที่เป็นประโยชน์ตํอพืช (moisture availability, m) คุณลักษณะ
                       ที่ดินที่เป็นตัวแทน คือ ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในรอบปี (ภาพที่ 3) หรือความต๎องการน้ําในชํวงการ

                       เจริญเติบโตของพืช
                                            1.1.2 ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนตํอรากพืช  (oxygen  availability,  o)
                       คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน คือ สภาพการระบายน้ําของดิน
                                            1.1.3 ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (nutrient availability, s)
                       คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน คือ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19