Page 8 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
บทที่ 1
บทน า
1.1 หลักการและเหตุผล
สถานการณ์และแนวโน๎มปัญหาที่ดินและทรัพยากรที่ดินของประเทศไทย อาทิ การมีที่ดิน
อยูํอยํางจํากัด แตํมีความต๎องการใช๎ที่ดินเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากประชากรที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดการบุกรุกที่ดิน
ของรัฐ เชํน พื้นที่ปุาไม๎ โดยเฉพาะการบุกรุกพื้นที่ปุาอนุรักษ์ พื้นที่ลุํมน้ําชั้นที่ 1 เพื่อทําการเกษตรและ
ไรํเลื่อนลอย สํงผลกระทบให๎เกิดการชะล๎างพังทลายในพื้นที่ลาดชันเกิดน้ําปุาไหลหลากได๎สูง
และดินถลํม เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินจากการใช๎ประโยชน์ที่ดินติดตํอกันเป็นเวลานาน
และสาเหตุหนึ่งที่สําคัญคือการใช๎ทรัพยากรที่ดินไมํสอดคล๎องกับศักยภาพพื้นที่ ไมํถูกต๎องตามความ
เหมาะสมของพื้นที่ ขาดการอนุรักษ์ดินและน้ํา รวมถึงขาดการปรับปรุงบํารุงดิน สํงผลให๎
ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง เกิดการชะล๎างพังทลายของดิน นอกจากนี้ ความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรดินยังเกิดตามสภาพธรรมชาติหรือสมบัติของดินเอง เชํน เป็นดินตื้น ดินบนพื้นที่สูงชัน
ซึ่งเสี่ยงตํอการชะล๎างพังทลายของดิน เป็นอุปสรรคตํอการเจริญเติบโตและการให๎ผลผลิตของพืช
เกิดการขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร ประกอบกับปัญหาด๎านการบริหารจัดการที่ดินอยํางไมํเป็นระบบ
สํงผลให๎เกิดวิกฤตในพื้นที่ตํางๆ
กองนโยบายและแผนการใช๎ที่ดินตระหนักและเข๎าใจถึงวิกฤตที่เกิดขึ้น ในปีงบประมาณ 2560
จึงดําเนินการวิเคราะห์สถานภาพของลุํมน้ําสาขาภายในลุํมน้ําหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก และ
จัดลําดับความสําคัญของปัญหาที่กํอให๎เกิดวิกฤตในลุํมน้ํา โดยรวบรวม ศึกษา ชี้ประเด็นปัญหาที่เกิด
กับทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากร ปุาไม๎ การใช๎ประโยชน์ที่ดิน สภาวะเศรษฐกิจและสังคม
โดยอ๎างอิงดัชนีชี้วัดจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล๎อม (2551) พบวํา
ลุํมน้ําชายฝั่งทะเลตะวันออก มีลุํมน้ําสาขาที่เกิดวิกฤต คือ ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ จึงดําเนินการ
วางแผนการใช๎ที่ดินเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ลุํมน้ําวิกฤตในลุํมน้ําสาขาดังกลําว
ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีการเปลี่ยนแปลงการใช๎ประโยชน์ที่ดินเป็นอยํางมากในอดีต
พื้นที่ปุาถูกแปลงเป็นพื้นที่เพาะปลูกหรือเกษตรกรรม และปุาชายเลนถูกแปลงเป็นฟาร์มกุ๎งในชํวงการ
สํงเสริมการเลี้ยงกุ๎งกุลาดํา และมีการใช๎ที่ดินตํอเนื่องมาเป็นเวลานาน (Wannasai & Shrestha,
2007) สํงผลให๎เกิดปัญหาการชะล๎างพังทลายของดิน และเกิดวิกฤตปุาเสื่อมโทรม รวมทั้งวิกฤต
น้ําเสีย เนื่องจากปี 2535 มีการปลํอยของเสียจากนากุ๎งลงสูํแมํน้ํา ทําให๎น้ําเริ่มเนําเสีย (กรมทรัพยากร
น้ํา, 2548) ปัญหาเหลํานี้ หากไมํได๎รับการแก๎ไข จะสํงผลกระทบตํอทรัพยากรธรรมชาติ เกิดการใช๎
ประโยชน์ได๎ลดน๎อยลง โดยเฉพาะอยํางยิ่ง ด๎านผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งจะกระทบตํอความเป็นอยูํ
ของเกษตรกร สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนอาจนําไปสูํปัญหาภัยธรรมชาติในรูปแบบตํางๆ
ได๎
ดังนั้น ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ จึงถือเป็นลุํมน้ําวิกฤตที่ต๎องดําเนินการวางแผนการใช๎
ที่ดินเพื่อฟื้นฟูอยํางเรํงดํวน การประเมินคุณภาพที่ดินด๎านกายภาพเป็นการวิเคราะห์ทรัพยากรดิน
และความต๎องการของพืช ให๎มีความเหมาะสม เพื่อเป็นข๎อมูลในการจัดการที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิต
และยังคงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ให๎เกิดผลกระทบน๎อยที่สุด อีกทั้งยังชํวยสนับสนุนในกระบวนการ