Page 116 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 116

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        98







                                     สําหรับการศึกษาในครั้งนี้ ใช๎คํา ETo  จากการคํานวณตาม Penman  Monteith
                       ด๎วยโปรแกรม Cropwat          และใช๎คําสัมประสิทธิ์การใช๎น้ําของพืชจา ก งานวิจัยของ
                       อุดมเกียรติ และคณะ (2551) และ ประภาศิริ (2555) โดยได๎แสดงรายละเอียดความต๎องการน้ําของ
                       พืชสําคัญในลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ไว๎ในตารางที่ 15

                                      (2) ความต๎องการน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค
                                          ความต๎องการน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภค เป็นความต๎องการน้ําเพื่อประกอบอาหาร
                       น้ําดื่ม ทําความสะอาดรํางกาย และใช๎อื่นๆ ในชีวิตประจําวันของประชากรในพื้นที่ที่ศึกษา ทั้งที่อยูํในเขต
                       เมืองและนอกเขตเมือง ซึ่งมีความต๎องการน้ําที่แตกตํางกัน จากรายงานการศึกษาโครงการจัดทําแผนรวมการ

                       บริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุํมน้ําชายฝั่งทะเลตะวันออก ได๎ประเมินไว๎ดังนี้ ประมาณวําประชากรใน
                       ชนบทต๎องการใช๎น้ํา 80 ลิตรตํอคนตํอวัน และประชากรในเมือง (เขตเทศบาล) ต๎องการใช๎น้ํา 200 ลิตรตํอคน
                       ตํอวัน และการศึกษาพบวําลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีความต๎องการน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคในปี 2545
                       ประมาณ 4.34 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี และคาดการณ์อนาคตไว๎ในปี 2565 ประมาณ 6.81 ล๎านลูกบาศก์

                       เมตรตํอปี ซึ่งปริมาณความต๎องการน้ําเพิ่มขึ้น 2.47 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี ในระยะเวลา 30 ปี
                                      (3) ความต๎องการน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม
                                          จากรายงานการศึกษาโครงการจัดทําแผนรวบรวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําใน

                       พื้นที่ลุํมน้ําชายฝั่งทะเลตะวันออก ประเมินการใช๎น้ําด๎านอุตสาหกรรม ใช๎ฐานข๎อมูลจากทะเบียนโรงงาน
                       อุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมในปี 2545 โดยนําข๎อมูลอัตราการใช๎น้ําของ
                       โรงงานแตํละประเภท จํานวน และประเภทของโรงงาน ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมได๎ประเมินไว๎ หลังจากนั้น
                       จะรวมปริมาณการใช๎น้ําของโรงงานตํางๆ ที่อยูํในพื้นที่ลุํมน้ําเข๎าด๎วยกัน พบวําลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์
                       มีความต๎องการน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมในปี 2545 ประมาณ 7.82 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี และคาดการณ์

                       อนาคตไว๎ในปี 2565 ประมาณ 30.48 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี ซึ่งปริมาณความต๎องการน้ําเพิ่มขึ้น 22.66 ล๎าน
                       ลูกบาศก์เมตรตํอปี

                                     จากข๎อมูล ศรชัย และคณะ (2558) ได๎ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพน้ําต๎นทุนของลุํมน้ํา
                       สาขาแมํน้ําประแสร์ เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการน้ํา พบวํา ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีความ

                       ต๎องการใช๎น้ําเพื่อทํากิจกรรมตํางๆ (Water Demand) ประมาณ 1383 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี โดย
                       ปริมาณน้ําใช๎การได๎ (Water  Supply) มีประมาณ 975 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอปี เมื่อเปรียบเทียบ
                       ข๎อมูลปริมาณน้ําใช๎การได๎หรือปริมาณน้ําที่มีอยูํในพื้นที่ กับปริมาณความต๎องการใช๎น้ํา จะเห็นวํา
                       ในสํวนของปริมาณน้ําในพื้นที่ศึกษา อยูํในภาวะไมํสมดุลระหวํางปริมาณน้ําใช๎และปริมาณความ

                       ต๎องการใช๎น้ํา ซึ่งถือวําพื้นที่อยูํในสภาพที่เสี่ยงตํอการได๎รับความเดือดร๎อนจากเรื่องน้ํา โดยเฉพาะ
                       อยํางยิ่งภาคการเกษตร หรือเกษตรกรที่ทําการเพาะปลูกซึ่งต๎องเกี่ยวข๎องกับการใช๎น้ําโดยตรง ดังนั้น
                       ข๎อมูลด๎านปริมาณน้ําจึงนําจะเป็นแนวทางให๎ผู๎มีสํวนเกี่ยวข๎องหาทางปูองกันแก๎ไขภาวะขาดแคลนใน

                       พื้นที่ เชํน เก็บกักน้ําไว๎ใช๎ยามขาดแคลน สํารวจหาแหลํงน้ําเพิ่ม เป็นต๎น











                                                                                                                                                           89
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121