Page 111 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 111

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        93







                                    (2) คุณภาพน้ําใต๎ดินและศักยภาพการพัฒนาน้ําใต๎ดิน
                                        (2.1)   คุณภาพน้ําใต๎ดิน
                                            ในการศึกษาคุณภาพน้ําใต๎ดินของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ จากปริมาณ
                       ของแข็งที่ละลายเจือปนอยูํในน้ําซึ่งมองไมํเห็นด๎วยตาเปลําเนื่องจากมีขนาดเล็กมาก (total

                       dissolved  solid  : Tds) มีหนํวยเป็นมิลลิกรัมตํอลิตร นอกจากนี้พิจารณาควบคูํกับอัตราการให๎น้ํา
                       (yield) มีหนํวยเป็นลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง ซึ่งมีรายละเอียดดัง ตารางที่ 12 และภาพที่ 19 จาก
                       การศึกษาพบวําอัตราการให๎น้ําน๎อยกวํา 2 ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปน
                       อยูํในน้ําน๎อยกวํา 500 มิลลิกรัมตํอลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมา เป็นอัตราการให๎น้ําระหวําง 2-10

                       ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูํในน้ําน๎อยกวํา 500 มิลลิกรัมตํอลิตร
                                        (2.2)   ศักยภาพการพัฒนาน้ําใต๎ดิน
                                        จากข๎อมูลคุณภาพน้ําบาดาล พบวําในเบื้องต๎นบริเวณที่มีศักยภาพในการ
                       พัฒนาน้ําใต๎ดินด๎วยวิธีการขุดเจาะบํอบาดาล คือ บริเวณที่มีอัตราการให๎น้ํามากกวํา 20 ลูกบาศก์เมตร

                       ตํอชั่วโมง และมีคําปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยูํในน้ําน๎อยกวํา 500 มิลลิกรัมตํอลิตร ซึ่งอยูํในชั้น
                       หินอุ๎มน้ํา หินชั้นกึ่งแปรยุคใหมํ มีเนื้อที่ 5,516 ไรํ แตํอยํางไรก็ตามการพัฒนาน้ําใต๎ดินยังขึ้นอยูํกับ
                       ปัจจัยด๎านอื่นอีก เชํน ต๎องศึกษาปริมาณน้ําทั้งหมดที่มีอยูํในหินอุ๎มน้ํา ซึ่งได๎จากการคํานวณจํานวน

                       เปอร์เซ็นต์ของชํองวํางในหิน ความพรุนของหิน เป็นต๎น ซึ่งต๎องดําเนินการศึกษาโดยผู๎ที่มีความ
                       เชี่ยวชาญเฉพาะด๎าน
                                  5) โครงการพัฒนาแหลํงน้ํา
                                      (1) โครงการพัฒนาแหลํงน้ําผิวดิน
                                          ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ซึ่งมีพื้นที่สํวนใหญํอยูํในเขตจังหวัดระยอง

                       และบางสํวนของจังหวัดชลบุรี จากข๎อมูลของกรมชลประทาน ปี 2558 พบวําในพื้นที่ลุํมน้ําสาขาฯ
                       มีโครงการชลประทานขนาดใหญํจํานวน 1 แหํง มีพื้นที่ชลประทาน 165,856 ไรํ และขนาดเล็ก
                       จํานวน 1 แหํง มีพื้นที่ชลประทาน 15,259 ไรํ (ตารางที่ 13)

                                      (2) โครงการพัฒนาแหลํงน้ําใต๎ดิน
                                          การพัฒนาแหลํงน้ําใต๎ดินจัดเป็นแนวทางการพัฒนาทรัพยากรน้ําด๎านหนึ่งที่
                       สามารถชํวยเหลือประชากรในเขตพื้นที่ลุํมน้ําสาขาทางด๎านน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร
                       ได๎เป็นอยํางดี เนื่องจากในบางครั้งน้ําผิวดินที่มีอยูํอาจไมํเพียงพอตํอความต๎องการใช๎ในการทํากิจกรรมด๎าน

                       ตํางๆ โครงการพัฒนาแหลํงน้ําใต๎ดินในเขตลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ดําเนินงานในลักษณะของการ
                       ขุดเจาะบํอน้ําบาดาล มีหนํวยงานหลักที่รับผิดชอบ คือ กรมทรัพยากรน้ําบาดาล โดยจากข๎อมูลพบวํา
                       ในเขตลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ มีจํานวนบํอบาดาลที่ขุดเจาะโดยกรมทรัพยากรน้ําบาดาล (2556ก)
                       ทั้งสิ้น 129 บํอ (ตารางที่ 14)
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116