Page 104 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 104

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        88







                       กรวดและทรายที่มีขนาดเทําๆ กันหรือมีความกลมมนมากจะเป็นแหลํงน้ําบาดาลได๎ดีเชํนกันชั้นน้ําบาดาล
                       ในชั้นหินรํวน แบํงออกเป็นชนิดตํางๆ ดังนี้
                                                (1.1.1)  ชั้นหินให๎น้ําตะกอนทรายชายหาด (beach sand aquifer:  Qbs)  มีเนื้อ
                       ที่ 3,211 ไรํ หรือร๎อยละ 0.24 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ประกอบด๎วยทราย ทรายปนกรวด และทราย
                       แปูง เกิดจากการพัดพามาสะสมตัวของน้ําทะเล มีคุณภาพปานกลางถึงคุณภาพไมํดี มีรสกรํอย-เค็ม
                       เนื่องจากมีการแทรกดันของน้ําทะเลเข๎ามา ได๎รับน้ําโดยตรงจากน้ําฝนและจะเก็บกักอยูํภาย ในชั้น

                       ทราย ปริมาณน้ําที่ได๎จากตะกอนชายหาดสํวนใหญํน๎อยกวํา 2 ล๎านลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง
                       ซึ่งปริมาณน้ําที่ได๎ขึ้นอยูํกับความหนาของชั้นตะกอน พบในเขตอําเภอแกลง และอําเภอวังจันทร์
                       จังหวัดระยอง
                                                (1.1.2)  ชั้นหินอุ๎มน้ําตะกอนเศษหินเชิงเขา (colluviums  aquifers:  Qcl)

                       มีเนื้อที่ 552,582 ไรํ หรือร๎อยละ 41.36 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ประกอบด๎วยกรวด ทราย ทรายแปูง
                       ดินเหนียว และเศษหิน แตกหักเป็นชั้นตะกอนหนาที่ไมํมีการคัดขนาดของเม็ดตะกอน โดยชั้นน้ํา
                       บาดาลถูกกักเก็บอยูํภายในชํองระหวํางกรวดทรายทรายแปูง และเศษหิน โดยมีการให๎น้ําประมาณ
                       2-10 ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง และความลึกของชั้นน้ําบาดาลอยูํในชํวง 20-50 เมตร และมีคุณภาพ
                       น้ําดี แตํมีปริมาณเหล็กในน้ําสูง พบในเขตอําเภอแกลง อําเภอเขาชะเมา อําเภอบ๎านคําย อําเภอเมือง
                       ระยอง และอําเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง

                                               (1.1.3) ชั้นหินอุ๎มน้ําตะกอนน้ําพา (floodplain  deposits  aquifer  :
                       Qfd) มีเนื้อที่ 109 ไรํ หรือร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา ประกอบด๎วยกรวด ทราย ทรายแปูง
                       และดินเหนียว โดยน้ําบาดาลจะกักเก็บอยูํในชํองวํางระหวํางเม็ดกรวด ทราย ที่สะสมตัวอยูํในที่ราบ
                       ลุํมน้ําหลาก บริเวณแนวคดโค๎งของทางน้ํา และบริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล โดยมีการให๎น้ําประมาณ

                       10-20 ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมงจนถึงมากกวํา 20 ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมงและความลึกของชั้นน้ํา
                       บาดาลอยูํในชํวง 10-40 เมตร คุณภาพน้ําบาดาลสํวนใหญํเป็นน้ําจืดคุณภาพดี แตํปริมาณเหล็กในน้ํา
                       คํอนข๎างสูงในเกือบทุกพื้นที่ พบในเขตอําเภอหนองใหญํ จังหวัดชลบุรี
                                      (1.2) แหลํงน้ําบาดาลในชั้นหินแข็ง

                                             น้ําบาดาลในชั้นหินแข็ง สํวนใหญํน้ําบาดาลจะถูกกักเก็บในบริเวณที่เป็น
                       ชํองวํางของรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อนในเนื้อหินหรือในบริเวณที่เป็นรอยตํอระหวํางชั้นหินหรือ
                       พื้นที่ที่เป็นโซนของหินผุหรือโพรงหิน น้ําบาดาลที่กักเก็บอยูํในชํองวํางของหินมีขนาดใหญํและ

                       ตํอเนื่องกันจะมีน้ําบาดาลกักเก็บในปริมาณสูง ตรงกันข๎ามถ๎ารอยแตกไมํมีหรือรอยแตกมีขนาดเล็ก
                       และไมํตํอเนื่อง ปริมาณน้ําบาดาลจะน๎อยหรือไมํมีเลยชั้นน้ําบาดาลในชั้นหินแข็งในพื้นที่ลุํมน้ําสาขา
                       แมํน้ําประแสร์ แบํงออกเป็นชนิดตํางๆ ดังนี้
                                               (1.2.1) ชั้นหินอุ๎มน้ําหินคาร์บอเนตอายุเพอร์เมียน (permian
                       limestone  aquife  : Pc) มีเนื้อที่ประมาณ 3,324 ไรํ หรือร๎อยละ 0.25 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                       ประกอบด๎วยหินปูนสีเทา และหินปูนเนื้อโดโลไมต์ บางแหํงมีกระเปาะของหินเชิร์ต น้ําบาดาลถูก
                       กักเก็บอยูํภายใน รอยแตก รอยแยก รอยเลื่อนถ้ํา และโพรง ปริมาณน้ําอยูํในเกณฑ์น๎อยกวํา 2
                       ลูกบาศก์เมตรตํอชั่วโมง ที่ระดับความลึก 30-60 เมตร พบในเขตอําเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109