Page 102 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        86







                                  - ความหนาแนํนของการระบายน้ํา (Drainage  density  : Dd) เป็นความสามารถ
                       หรือประสิทธิภาพในการระบายน้ําของลุํมน้ํา ในกรณีที่มีเนื้อที่ลุํมน้ําเทํากัน โดยทั่วไปลุํมน้ําที่มีความ
                       ยาวของลําน้ํามากจะมีความสามารถในการระบายน้ําได๎ดีกวําลุํมน้ําที่มีลําน้ําน๎อย คํา Dd คํานวณจาก
                       สมการ
                                                   L
                                    Dd   =              (กิโลเมตรตํอตารางกิโลเมตร)

                                                   A
                                    กําหนดให๎   L    =  ความยาวของลําน้ําทั้งหมดทุกเส๎นรวมกัน (กิโลเมตร)
                                            A    =  เนื้อที่ลุํมน้ํา (ตารางกิโลเมตร)
                                    ถ๎า       Dd   มีคําน๎อยกวํา 1   แสดงวํา ลุํมน้ํามีการระบายน้ําเลว

                                            Dd   มีคําระหวําง  1-3 แสดงวํา ลุํมน้ํามีการระบายน้ําดีปานกลาง
                                            Dd   มีคํามากกวํา 3   แสดงวํา ลุํมน้ํามีการระบายน้ําดีมาก
                                      จากผลการศึกษาลักษณะทางกายภาพของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ พบวํามีคํา
                       สัมประสิทธิ์ความหนาแนํน (Kc) เทํากับ 1.66 และคําฟอร์มแฟคเตอร์ (FF) เทํากับ 0.36 ลุํมน้ําสาขาแมํน้ํา

                       ประแสร์ จึงมีรูปรํางคล๎ายรูปสี่เหลี่ยมและตํางจากลักษณะวงกลมพอสมควร ซึ่งลุํมน้ําที่มีรูปรํางคล๎ายรูป
                       สี่เหลี่ยมนี้จะมีลักษณะลําธารสายสั้นๆ แจกจํายน้ําอยูํมากและการแจกจํายน้ํานี้จะไหลสูํลําธารหลัก
                       โดยตรงในเวลาสั้นเชํนกัน ทําให๎น้ําไหลสูงสุดที่ปากลุํมน้ําเกิดขึ้นได๎งําย แตํเนื่องจากลุํมน้ําประเภทนี้มี
                       ขนาดเล็ก จึงไมํทําให๎เกิดผลเสียหายมากนักและจะมีน้ําหลํอเลี้ยงลําธารน๎อย นอกจากนี้แล๎วยังพบวํา

                       คําความหนาแนํนของการระบายน้ํา (Dd) ของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ เทํากับ 1.38 แสดงถึงการระบายน้ํา
                       ดีปานกลาง และมีน้ําไหลบําบนดินหรือน้ําผิวดิน (Surface runoff) ปานกลาง
                                  3) ปริมาณน้ําทํา และคุณภาพน้ําผิวดิน

                                      (1) ปริมาณน้ําทํา
                                          ปริมาณน้ําทํา เป็นปริมาณน้ําที่ไหลในลําน้ําหรือลําธาร ตามธรรมชาติจะขึ้นอยูํ
                       กับขนาดของพื้นที่ลุํมน้ํา ซึ่งลําน้ําจะพัฒนาให๎มีความจุพอเพียงกับน้ําที่ลุํมน้ําให๎ โดยทั่วไปไมํวําลุํมน้ําจะ
                       มีขนาดเทําใด จะมีลําน้ําหลักอยูํเพียงหนึ่งเทํานั้น สํวนลําน้ําที่เป็นสาขาจะมีมากน๎อยเพียงไรขึ้นกับ
                       ความคงทนของดินและหินตลอดจนลักษณะพืชคลุมดินของลุํมน้ําเป็นสําคัญ

                                          จากสถิติข๎อมูลปริมาณน้ําทํารายเดือนเฉลี่ยของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์
                       ณ สถานี Z.18 คลองโพล๎ ตําบลชําฆ๎อ อําเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง ปี 2526-2558 ซึ่งตั้งอยูํใน
                       พื้นที่ลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ พบวํา มีปริมาณน้ําทํารายปีเฉลี่ย 115.31 ล๎านลูกบาศก์เมตร ในชํวงฤดู

                       ฝน (เดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม) มีปริมาณน้ําทํา 101.62 ล๎านลูกบาศก์เมตร หรือร๎อยละ 88.13
                       ของปริมาณน้ําทําเฉลี่ยรายปี ปริมาณน้ําทําเฉลี่ยสูงสุดในเดือนกันยายน 30.66 ล๎านลูกบาศก์เมตร
                       และต่ําสุดในเดือนมีนาคม 0.79 ล๎านลูกบาศก์เมตร (ตารางที่ 9)
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107