Page 145 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 145

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          117




                  ตารางที่ 11 (ต่อ)

                          Depth    OM 1/      Avail.P 2/   Avail.K 3/     CEC 4/       BS 5/    Total  Fertility
                   Pedon
                           (cm)  %    score  mg  kg  score  mg kg  score  cmol kg  score   %   score  scores   Level
                                                -1
                                                                           -1
                                                                                                          6/
                                                             -1
                          0 - 25  2.35   2   1.95   1     68     2     15.2     2   46.4   3     10   ปานกลาง
                      Tl-lsk-1   25 - 50  2.17   2   1.93   1   88   2   19.3   2   62.0   2     8    ปานกลาง
                          50 - 100  0.73   1   2.75   1   44     1     18.5     2   61.2   2     9    ปานกลาง
                          0 - 25  0.89   1   3.78   1     138    3     13.8     2   65.1   3     10   ปานกลาง
                      Tl-lsk-2   25 - 50  1.07   1   1.90   1   196   3   7.1   1   44.3   2     8    ปานกลาง


                          50 - 100  1.64   2   2.10   1   126    3      5.6     1   45.1   2     9    ปานกลาง

                          0 - 25  1.38   1   0.30   1     85     2     17.5     2   41.2   3     9    ปานกลาง
                      Cg-low,f   25 - 50  2.72   2   0.53   1   154   3   18.9   2   54.9   2    10   ปานกลาง


                          50 - 100  1.65   2   0.08   1   106    3     17.6     2   49.7   2     10   ปานกลาง

                                            2/
                  หมายเหตุ:   1/ OM = organic matter,  Avail.P = available phosphorus,  Avail.K = available potassium,  CEC = cation exchange
                                                                                           4/
                                                                    3/
                           capacity,  BS = base saturation,  Fertility level = ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินมาจากคะแนนทั้งหมดมารวมกัน ถ้ามี
                                                  6/
                                 5/
                           คะแนนรวมเท่ากับ 7 หรือน้อยกว่า ถือว่ามีระดับความอุดมสมบูรณ์ต่ํา แต่ถ้าอยู่ระหว่าง 8-12 ถือว่ามีระดับความอุดมสมบูรณ์
                           ปานกลาง ส่วนถ้าคะแนนรวมเท่ากับ 13 หรือมากกว่า จะถือว่ามีระดับความอุดมสมบูรณ์สูง
                                6) ดินวังสะพุงที่มีสีน้ําตาล (Ws-br) ที่ความลึก 0 - 25 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับ
                  ความอุดมสมบูรณ์สูง เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุ โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ ค่าความจุแลกเปลี่ยน

                  แคตไอออน และอัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสอยู่ในระดับสูง ส่วนที่ความลึก 25 - 50 และ 50 - 100
                  เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เนื่องจากมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
                  อยู่ในระดับต่ํา

                                7) ชุดดินวังสะพุง (Ws) ที่ความลึก 0 - 25 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์
                  ปานกลาง เนื่องจากมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ํา ส่วนที่ความลึก 25 - 50 และ

                  50 - 100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุและ
                  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ํา แต่มีปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับสูง

                                8) ชุดดินท่ายาง (Ty) ที่ความลึก 0 - 25 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์
                  ปานกลาง เนื่องจากมีค่าความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนอยู่ในระดับต่ํา ส่วนที่ความลึก 25 - 50 เซนติเมตร
                  จากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์ต่ํา เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ค่าความจุ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน และอัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสอยู่ในระดับต่ํา

                                9) ดินมวกเหล็กที่เป็นร่วนปนชิ้นส่วนหยาบปริมาณมาก (Ml-lsk) ที่ความลึก 0 - 25 และ
                  25 - 50 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เนื่องจากมีปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
                  ประโยชน์อยู่ในระดับต่ํา ส่วนที่ความลึก 50 - 100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีระดับความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
                  ทั้งนี้เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุและฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่ํา แต่มีปริมาณโพแทสเซียมที่

                  เป็นประโยชน์อยู่ในระดับสูง
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150