Page 45 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 45
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
38
บอกว่าต้องการวิเคราะห์อะไร หรืออธิบายความต้องการสุดท้ายให้ผู้สร้างข้อมูลจัดสร้าง ตามรูปแบบ
ต่าง ๆ ที่ต้องการ เพื่อน าไปวิเคราะห์ เช่น ถ้าต้องการแผนที่ภัยพิบัติ ต้องใช้แผนที่ภูมิประเทศพื้นฐาน
ร่วมกับแผนที่แสดงรอยเลื่อนของแผ่นดิน และพื้นที่ที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นเป็นประจ า การปฏิบัติงาน
ด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ กลุ่มผู้สร้างข้อมูลและผู้ใช้ข้อมูลต้องท างานร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อมูลแผนที่
(map data) ที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ต่อการวางแผน และสิ่งที่ส าคัญของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
คือ บุคลากรผู้สร้างข้อมูลที่ต้องสามารถปรับเปลี่ยนข้อมูลให้เป็นปัจจุบันมากที่สุด เพราะข้อมูลที่ได้มา
ถ้าไม่มีการรายงานจากสนามที่เป็นปัจจุบัน หากส่งข้อมูลเข้ามารวมกัน ข้อมูลที่ติดตามอยู่อาจเกิด
ความผิดพลาดได้ เช่น แผนที่แสดงการเปลี่ยนแปลงภาวะน้ าท่วม แผนที่การระบาดของโรค ซึ่งจ าเป็น
ต้องใช้ข้อมูลที่มีการเคลื่อนไหว และรายงานผลทุกช่วงเวลา
3) ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก (ส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน), 2552)
ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลก เป็นระบบโครงข่ายดาวเทียวระบุต าแหน่งจ านวน
อย่างน้อย 24 ดวงรอบโลก โดยโคจรอยู่เหนือพื้นโลกประมาณ 20,200 กิโลเมตร ซึ่งดาวทียมมีชื่อ
อ้างอิงว่า NAVSTAR เดิมได้ถูกออกแบบมาใช้ในภารกิจทางทหารโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา
เป็นเจ้าของระบบ ต่อมาจึงได้เปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปได้ใช้ประโยชน์นี้โดยไม่คิดมูลค่า ท าให้มี
ผู้ใช้อย่างแพร่หลาย ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลกจะรับสัญญาณจากดาวเทียมเพื่อหาต าแหน่งบนโลก
อ้างอิงกับระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ ได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่จ ากัดสภาพอากาศ จึงนับว่าเป็นระบบ
น าทางที่ดีในปัจจุบัน ระบบก าหนดต าแหน่งบนโลกท างานได้โดยอาศัยการรับสัญญาณจากดาวเทียม
อย่างน้อย 3 ดวง ซึ่งสามารถค านวณต าแหน่งที่อยู่ในแบบ 2 มิติ คือ เฉพาะค่าในแนวราบ และหาก
รับดาวเทียมได้ 4 ดวงขึ้นไป จะทราบต าแหน่งที่อยู่ในแบบ 3 มิติ คือ ต าแหน่ง และความสูง