Page 235 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 235

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                         กลุ่มชุดดิน                          ความเหมาะสมในการปลูกพืช

                             48        โดยทั่วๆ ไป ไม่เหมาะในการน ามาใช้ปลูกพืช เศรษฐกิจ ควรใช้ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ หรือไม้
                                       โตเร็วต่างๆ
                             49        โดยทั่วๆ ไป ไม่ค่อยเหมาะที่จะน ามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจ แนะน าให้ท าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

                                       ปลูกไม้โตเร็ว หรือปลูกป่า

                             50        เนื่องจากเป็นดินลึกปานกลาง พบลูกรังหรือเศษหินในระดับ 50–100 ซม. และพบอยู่ใน
                             53        เขตฝนตกชุก พืชที่พอปลูกได้และให้ผลตอบแทนคุ้มกับการลงทุน ได้แก่ ยางพารา ปาล์ม
                                       น้ ามัน และไม้ผล เช่น เงาะ ลางสาด หรือลองกอง และควรมีการปรับปรุงดินด้วย

                             51        ไม่ค่อยเหมาะในการน ามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจ เนื่องจากพบในเขตฝนชุก และเป็นดินตื้น
                                       มาก ควรรักษาไว้เป็นป่า หรือปลูกไม้โตเร็ว แต่ถ้าจะปลูกพืชแนะน าควรเป็นยางพารา แต่

                                       ในระยะยาวผลผลิตอาจลดลง ท าให้ไม่คุ้มกับการลงทุน
                             52        แนะน าให้ปลูกพืชไร่รากสั้น เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฝ้าย อ้อย ทานตะวัน มันแกว และไม้ผล

                                       เช่น น้อยหน่า มะพร้าว หรือมะละกอ ไม่แนะน าให้ปลูกพืชที่ไม่ชอบดินเป็นด่าง เช่น

                                       สับปะรด หรือถั่วลิสง ส าหรับบริเวณที่ลาดชันเล็กน้อย ควรมีการปลูกแฝกขวางแนวลาดเท
                                       เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 20-40 เมตร
                             54        เหมาะสมปานกลางส าหรับพืชไร่ต่างๆ ในเขตฝนแล้ง อย่างไรก็ตามควรมีการปลูกแฝก หรือ

                                       ปลูกพืชขวางความลาดเทในพื้นที่ที่มีความลาดชัน เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า
                                       การใช้ปุ๋ยบ ารุงดินในรูปแบบต่างๆ จ าเป็นส าหรับดินนี้

                             55        พืชที่แนะน าให้ปลูก ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ฝ้าย กล้วย มะพร้าว มะม่วง และมะละกอ
                                       การใช้ปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยอินทรีย์เป็นสิ่งจ าเป็น เพราะจะท าให้หน้าดินร่วนซุย ส าหรับปุ๋ยเคมี

                                       ควรใช้ตามความเหมาะสม ส าหรับบริเวณที่ลาดชันเล็กน้อย ควรมีการปลูกแฝกขวางแนว
                                       ลาดเท ระยะระหว่างแฝกประมาณ 40-60 เมตร แต่ถ้าพบบริเวณที่ลาดชันปานกลาง ควรมี

                                       การปลูกแฝกขวางแนวลาดเท ระยะระหว่างแฝกประมาณ 20-40 เมตร ควรไถพรวน และ
                                       ปลูกพืชขวางแนวลาดเท เพื่อลดปัญหาเรื่องการชะล้างพังทลายของหน้าดิน

                             56        พืชที่แนะน าให้ปลูก ได้แก่ ข้าวฟ่าง อ้อย มันส าปะหลัง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ข้าวไร่ มะม่วง
                                       ขนุน และกล้วย เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า ควรมีการใช้ปุ๋ยบ ารุงดิน

                                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยพืชสด ส าหรับบริเวณที่ลาดชันเล็กน้อย ควรมีการ
                                       ป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน โดยการปลูกแฝกปลูกพืช และไถพรวนขวางแนว

                                       ลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 40-60 เมตร แต่ถ้าพบบริเวณที่ลาดชันปานกลาง
                                       ควรมีการปลูกแฝกขวางแนวลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 20-40 เมตร พร้อมกัน

                                       นั้นควรปลูกพืช และไถพรวนขวางแนวลาดเท เพื่อลดปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้า
                                       ดิน
                             57        เนื่องจากเป็นดินอินทรีย์ ความเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจจึงมีน้อยหรือไม่เหมาะสม

                             58        ควรสงวนไว้เป็นป่าพรุ หรือปลูกไม้เสม็ด เพื่อฟื้นฟูสภาพนิเวศ



                                                                                                      222
   230   231   232   233   234   235   236   237   238