Page 232 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 232

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                         กลุ่มชุดดิน                          ความเหมาะสมในการปลูกพืช

                                       อย่างยิ่งการน าน้ ามาชะล้างความเค็ม ควรพัฒนาเป็นพื้นที่สีเขียว เช่น ปลูกหญ้าทนเค็ม
                                       หรือปลูกกระถินออสเตรเลีย เพราะจะช่วยป้องกันการแพร่กระจายของความเค็ม
                             21        เหมาะในการท านา ท าไร่นาสวนผสม หรือท าเกษตรทฤษฎีใหม่ ถ้ามีการยกร่องสามารถใช้

                                       ปลูกไม้ผลต่างๆ และพืชผักต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และท าคันดินล้อมรอบเพื่อป้องกันน้ าท่วม

                                       พื้นที่ปลูก
                             22        เหมาะในการท านา แต่ต้องมีการปรับปรุงดินมาก เนื่องจากเป็นดินค่อนข้างเป็นทรายหรือ
                             23        เป็นทราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับปรุงดินด้วยอินทรียวัตถุในรูปแบบต่างๆ และต้อง

                             24        กระท าต่อเนื่องกัน โดยใช้วิธีปลูกพืชปุ๋ยสด แล้วไถกลบ
                             25        เป็นดินที่มีปัญหาทางกายภาพ เนื่องจากเป็นดินลูกรัง ถ้าพบภายใน 50 ซม. จะเป็นปัญหา

                                       มาก แต่ถ้าพบในระยะลึกกว่า 50 ซม. ก็พอเหมาะที่จะน ามาใช้ท านา แต่เนื่องจากเป็นดินที่
                                       มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดินเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

                                       การเพิ่มอินทรียวัตถุในรูปแบบต่างๆ ให้แก่ดิน
                             26        เหมาะในการปลูกพืชหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้น ที่ชอบ

                             27        ภูมิอากาศแบบฝนชุก เช่น เงาะ ลางสาด ลองกอง ทุเรียน มังคุด ยางพารา และปาล์ม
                                       น้ ามัน เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณ์ไม่มาก ดังนั้น การใช้ปุ๋ยบ ารุงดินทั้งปุ๋ยอินทรีย์และ

                                       เคมี จึงเป็นสิ่งจ าเป็น
                             28        เหมาะในการปลูกพืชไร่ และไม้ผลได้หลายชนิด เช่น ข้าวโพด ฝ้าย ถั่ว อ้อย มะนาว

                                       มะพร้าว มะขามหวาน ขนุน และน้อยหน่า ฯลฯ เนื่องจากเป็นดินเหนียวจัด เพื่อไม่ให้ดิน
                                       แน่นควรไถในช่วงดินแห้ง และควรไถกลบตอซัง หรือปลูกพืชปุ๋ยสดแล้วไถกลบ เพื่อเพิ่ม
                                       อินทรียวัตถุให้แก่ดิน ส าหรับบริเวณที่ดอนที่มีความลาดชันเล็กน้อย เพื่อป้องกันไม่ให้

                                       หน้าดินถูกชะล้างพังทลาย แนะน าให้ปลูกแถวแฝกขวางความลาดเท ระยะระหว่างแถว

                                       แฝกประมาณ 40–60 เมตร
                             29        เหมาะในการปลูกพืชไร่ หรือไม้ผลหลายชนิด เช่น ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวไร่ อ้อย ถั่ว
                                       สับปะรด มะม่วง มะขาม ขนุน กล้วย ฯลฯ เพื่อไม่ให้ดินเสื่อมโทรม ควรมีการใช้ปุ๋ยบ ารุง

                                       ดิน โดยเฉพาะการใช้อินทรียวัตถุ และปุ๋ยพืชสดควบคู่ไปกับการใช้ปุ๋ยเคมี ส าหรับบริเวณที่
                                       ดอนที่มีความลาดชันเล็กน้อย แนะน าให้ปลูกแฝกเป็นแถวขวางแนวลาดเท ระยะระหว่าง

                                       แถวแฝกประมาณ 40–60 เมตร เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
                             30        เนื่องจากพบในบริเวณพื้นที่ภูเขา ซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35 % ดังนั้นจึงไม่เหมาะสมใน

                                       การที่จะน ามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรสงวนไว้เป็นป่าหรือปลูกป่า เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
                                       แต่ถ้าจ าเป็นอย่างยิ่งยวดที่ต้องน ามาใช้ท าการเกษตร ควรมีระบบอนุรักษ์ดิน เช่น ท า

                                       ขั้นบันได หรือท าคูน้ าขอบเขา และปลูกแฝกขวางความลาดเทควบคู่กันไป พืชหลายอย่างที่
                                       ปลูกได้ เช่น แมคคาดาเมีย กาแฟ ลิ้นจี่ หรือท้อ เป็นต้น

                             31        เหมาะในการปลูกพืชไร่หรือไม้ผลต่างๆ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ข้าวไร่ อ้อย ถั่ว ละหุ่ง



                                                                                                      219
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237