Page 233 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 233

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                         กลุ่มชุดดิน                          ความเหมาะสมในการปลูกพืช

                                       สับปะรด มะม่วง มะขาม ขนุน กล้วย ฯลฯ แต่เนื่องจากดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า
                                       จึงแนะน าให้ใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี เพื่อปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                       ส าหรับบริเวณที่ดอนที่มีความลาดชันเล็กน้อย ดินนี้อาจมีปัญหาเรื่องการชะล้างพังทลาย

                                       จึงแนะน าให้ปลูกแฝกขวางความลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 40–60 เมตร

                             32        เหมาะในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล เช่น เงาะ มังคุด ลองกอง ลางสาด ทุเรียน และไม้ยืนต้น
                                       เช่น ยางพารา ปาล์มน้ ามัน และกาแฟโรบัสต้า ซึ่งเป็นพืชที่ชอบอากาศแบบฝนตกชุก แต่
                                       เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และเคมี ยังคงเป็นสิ่งจ าเป็น

                             33        เหมาะในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล หรือพืชผักได้ทุกอย่างตามที่ต้องการ ส าหรับบริเวณที่ดอนที่
                                       มีความลาดชันเล็กน้อย ควรมีการป้องกันไม่ให้หน้าดินถูกน้ าชะพังทลาย จึงแนะน าให้ปลูก

                                       แฝกขวางบริเวณที่มีความลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 40–60 เมตร
                             34        เหมาะในการปลูกพืชที่ชอบภูมิอากาศแบบฝนตกชุก เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง

                                       ลางสาด ตลอดจนยางพารา และปาล์มน้ ามัน แต่เนื่องจากดินค่อนข้างเป็นทราย และมี
                                       ความอุดมสมบูรณ์ต่ า การปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ โดยการใช้ปุ๋ยต่างๆ จึงเป็นสิ่งที่ควร

                                       กระท า
                             35        เหมาะในการปลูกพืชที่ชอบดินร่วนปนทราย เช่น มันส าปะหลัง อ้อย ถั่วลิสง ถั่วเขียว

                                       แตงโม หญ้าเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนไม้ผลต่างๆ เช่น มะม่วง ขนุน ฝรั่งและมะพร้าว เนื่องจาก
                                       ดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ า จึงควรมีการใช้ปุ๋ยบ ารุงดินเสมอ ส าหรับบริเวณที่ดินที่มี

                                       ความลาดชันเล็กน้อย เนื่องจากดินบริเวณนี้ถูกน้ าชะพังทลายได้ง่าย จึงควรมีการปลูกแฝก
                                       ขวางแนวลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝกประมาณ 40–60 เมตร ในขณะเดียวกันควรมีการ
                                       ไถพรวน และปลูกพืชขวางแนวลาดเท

                             36        เหมาะในการปลูกพืชที่ชอบดินร่วนปนทราย เช่น แตงโม มันส าปะหลัง อ้อย ถั่วลิสง ถั่ว

                                       เขียว หญ้าเลี้ยงสัตว์ ฯลฯ ส าหรับไม้ผล ได้แก่ มะม่วง ขนุน มะขาม และมะพร้าว เนื่องจาก
                                       ดินมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ าจึงแนะน าให้ใช้ปุ๋ยบ ารุงดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปุ๋ย
                                       อินทรีย์ หรือปุ๋ยพืชสด ส าหรับบริเวณที่ดินที่มีความลาดชันเล็กน้อย เนื่องจากดินบริเวณนี้

                                       ถูกน้ าชะล้างพังทลายได้ง่าย จึงควรมีการปลูกแฝกขวางแนวลาดเท ระยะระหว่างแถวแฝก
                                       ประมาณ 40–60 เมตร และควรมีการไถพรวนและปลูกพืชขวางแนวลาดเท

                             37        เหมาะในการปลูกพืชไร่ที่มีรากสั้น แต่ถ้าจะปลูกไม้ผล ต้องมีการเตรียมหลุมดินที่ดี พืชไร่ที่
                                       แนะน าให้ปลูก ได้แก่ มันส าปะหลัง อ้อย ถั่วลิสง ถั่วเขียว ข้าวไร่ ข้าวฟ่าง กล้วย ส าหรับ

                                       ไม้ผล ได้แก่ มะม่วง ขนุน มะขาม และหญ้าเลี้ยงสัตว์ การใช้ปุ๋ยเพื่อบ ารุงดินเป็นสิ่งจ าเป็น
                                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยพืชสด ส าหรับบริเวณที่ลาดชันเล็กน้อย เพื่อป้องกัน

                                       หน้าดินถูกชะล้างพังทลาย ควรไถพรวนปลูกพืช และปลูกแฝกขวางแนวลาดเท ระยะ
                                       ระหว่างแถวแฝกควรอยู่ประมาณ 40–60 เมตร แต่ถ้าพบบริเวณที่มีความลาดชันมาก ควร
                                       มีการปลูกแฝก ไถพรวน และปลูกพืชขวางแนวลาดเท ระยะระหว่างแนวแฝกควรอยู่

                                       ประมาณ 20–40 เมตร เพื่อป้องกันหน้าดินไม่ให้ถูกชะล้างพังทลาย

                                                                                                      220
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238