Page 147 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 147

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                               2.4 กลุ่มดินร่วนหยาบ

                               ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 40 และ 60 ซึ่งกลุ่มชุดดินที่ 60 เป็นดินที่เกิดจากตะกอนน้ าพา

                       เซิงซ้อน พบในบริเวณสันดินริมน้ าและเนินตะกอนระหว่างหุบเขา ไม่ได้มีการก าหนดชื่อชุดดินในกลุ่ม

                       ชุดดินนี้ จึงไม่มีข้อมูลปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในกลุ่มชุดดินนี้

                               กลุ่มชุดดินที่ 40 กลุ่มดินร่วนหยาบลึกถึงลึกมาก ที่เกิดจากตะกอนล าน้ าหรือวัตถุต้นก าเนิด

                       ดินเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดหรือเป็นกลาง การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์
                       ต่ า ข้อมูลปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมที่รวบรวมได้ในกลุ่มชุดดินนี้ ได้แก่ ชุดดินชุมพวง (Cpg) ชุดดิน

                       สันป่าตอง (Sp) และชุดดินหุบกะพง (Hg) แสดงในตารางที่ 47

                               ซิลิคอน มีค่าอยู่ในพิสัย 375-471 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 416 กรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่

                       ปริมาณซิลิคอนในดินบนสูงกว่าดินล่างในชุดดินสันป่าตอง ส่วนชุดดินชุมพวงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในดิน

                       ล่าง โดยชุดดินสันป่าตองมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินหุบกระพงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               อะลูมินัม มีค่าอยู่ในพิสัย 7-58 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 30 กรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณ
                       อะลูมินัมเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยชุดดินหุบกระพงมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด


                               เหล็ก มีค่าอยู่ในพิสัย 4-10 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 6 กรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณเหล็กเพิ่มขึ้น
                       ในดินล่าง โดยชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินสันป่าตองมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด


                               ไทเทเนียม มีค่าอยู่ในพิสัย 1.2-2.1 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 1.6 กรัมต่อกิโลกรัม ส่วนใหญ่
                       ปริมาณไทเทเนียมเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยชุดดินสันป่าตองมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินหุบกระพงมี

                       ค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               โซเดียม มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ถึง 4.2 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 1.4

                       กรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณโซเดียมในแต่ละชุดดินมีค่าไม่แตกต่างกันในดินบนและดินล่าง  โดยชุดดินหุบ

                       กระพงมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               แมกนีเซียม มีค่าอยู่ในพิสัยที่น้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ถึง 1.7 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 0.7

                       กรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณแมกนีเซียมมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยชุดดินหุบกระพงมีค่าเฉลี่ยสูงสุด
                       และชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด


                               โพแทสเซียม มีค่าอยู่ในพิสัย 0.3-48.8 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 16.4 กรัมต่อกิโลกรัม ส่วน
                       ใหญ่ปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นในดินล่าง ยกเว้นชุดดินหุบกระพง โดยชุดดินหุบกระพงมีค่าเฉลี่ย

                       สูงสุด และชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด

                               แคลเซียม มีค่าอยู่ในพิสัย 0.1-1.0 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 0.5 กรัมต่อกิโลกรัม ปริมาณ

                       แคลเซียมในดินบนสูงกว่าดินล่างในชุดดินสันป่าตองและชุดดินหุบกระพง ส่วนชุดดินชุมพวงมีแนวโน้ม
                       เพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยชุดดินหุบกระพงมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และชุดดินชุมพวงมีค่าเฉลี่ยต่ าสุด


                                                                                                      134
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152