Page 107 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 107

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                               1.7 กลุ่มดินร่วนหยาบ

                               ประกอบด้วยกลุ่มชุดดินที่ 19, 21, 22 และ 59 ส าหรับกลุ่มชุดดินที่ 59 เป็นดินที่เกิดจาก

                       ตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน พบในพื้นที่ราบลุ่มหรือที่ราบลุ่มระหว่างหุบเขา (alluvial plain/valley flats)

                       ไม่ได้มีการก าหนดชื่อชุดดินในกลุ่มชุดดินที่ 59 จึงไม่มีข้อมูลปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในกลุ่มชุด
                       ดินที่ 59


                               กลุ่มชุดดินที่ 19 กลุ่มดินร่วนหยาบที่เกิดจากตะกอนล าน้ า มีชั้นแน่นทึบภายในความลึก
                       100 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นด่างเล็กน้อย การระบายน้ าค่อนข้างเลว

                       ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ข้อมูลปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมที่รวบรวมได้ในกลุ่มชุดดินนี้ ได้แก่ ชุดดิน

                       วิเชียรบุรี (Wb) แสดงในตารางที่ 32

                               ซิลิคอน ปริมาณซิลิคอนทั้งดินบนและดินล่าง มีค่าเท่ากับ 456 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 456

                       กรัมต่อกิโลกรัม

                               อะลูมินัม ปริมาณอะลูมินัมในดินบนและดินล่าง มีค่าเท่ากับ 8 และ 7 กรัมต่อกิโลกรัม
                       ตามล าดับ เฉลี่ย 7 กรัมต่อกิโลกรัม


                               เหล็ก ปริมาณเหล็กทั้งดินบนและดินล่าง มีค่าเท่ากับ 5 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 5 กรัมต่อ
                       กิโลกรัม


                               ไทเทเนียม ปริมาณไทเทเนียมเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยดินบนมีค่าเท่ากับ 1.4 กรัมต่อกิโลกรัม
                       และดินล่างมีค่าเท่ากับ 1.8 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 1.6 กรัมต่อกิโลกรัม


                               โซเดียม ปริมาณโซเดียมเพิ่มขึ้นในดินล่าง โดยดินบนมีค่าน้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ และ
                       ดินล่างมีค่าเท่ากับ 0.2 กรัมต่อกิโลกรัม เฉลี่ย 0.1 กรัมต่อกิโลกรัม


                               แมกนีเซียม ปริมาณแมกนีเซียมทั้งดินบนและดินล่างมีค่าน้อยมากจนไม่สามารถวัดได้

                               โพแทสเซียม ปริมาณโพแทสเซียมทั้งดินบนและดินล่าง มีค่าเท่ากับ 0.2 กรัมต่อกิโลกรัม

                       เฉลี่ย 0.2 กรัมต่อกิโลกรัม

                               แคลเซียม ปริมาณแคลเซียมในดินบนสูงกว่าดินล่าง มีค่าเท่ากับ 0.4 และ 0.1 กรัมต่อ

                       กิโลกรัม ตามล าดับ เฉลี่ย 0.3 กรัมต่อกิโลกรัม

                               ก ามะถัน ปริมาณก ามะถันทั้งดินบนและดินล่างมีค่าน้อยมากจนไม่สามารถวัดได้


                               ฟอสฟอรัส ปริมาณฟอสฟอรัสในดินบนสูงกว่าดินล่าง ดินบนมีค่าเท่ากับ 436 มิลลิกรัมต่อ
                       กิโลกรัม ส่วนดินล่างมีค่าน้อยมากจนไม่สามารถวัดได้ เฉลี่ย 218 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม


                               แมงกานีส ปริมาณแมงกานีสทั้งดินบนและดินล่างมีค่าน้อยมากจนไม่สามารถวัดได้




                                                                                                       94
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112