Page 106 - ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมในดินของประเทศไทย
P. 106

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                               ตัวแปร (Variable) ประกอบด้วย ผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวม ศึกษาด้วย

                       วิธี X-ray fluorescence spectrophotometry (XRF) ประกอบด้วยธาตุ 12 ธาตุ ได้แก่ ซิลิคอน
                       (Si) อะลูมินัม  (Al) เหล็ก (Fe) ไทเทเนียม  (Ti)  โซเดียม (Na) แมกนีเซียม  (Mg)  โพแทสเซียม (K)

                       แคลเซียม (Ca) ก ามะถัน (S) ฟอสฟอรัส (P) แมงกานีส (Mn) และสังกะสี (Zn) สมบัติทางกายภาพ

                       ประกอบด้วย ปริมาณของอนุภาคขนาดทราย (Sand) ทรายแป้ง (Silt) และดินเหนียว (Clay) หน่วย
                       วิเคราะห์ (Cases) คือ ตัวอย่างดิน จ านวนทั้งสิ้น 72 ตัวอย่าง ประกอบด้วย

                                กลุ่มชุดดินที่ 17 (Group 17) ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ า ปฏิกิริยา

                                  ดินเป็นกรดจัดมาก ได้แก่ ชุดดินร้อยเอ็ด (Re) ชุดดินเรณู (Rn) ชุดดินวิสัย (Vi) และชุด
                                  ดินสุไหงปาดี (Pi)

                                กลุ่มชุดดินที่ 18 (Group 18) ดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนล าน้ า ปฏิกิริยา

                                  ดินเป็นกลางหรือเป็นด่าง ได้แก่ ชุดดินชลบุรี (Cb) และ ชุดดินเขาย้อย (Kyo)


                               วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Factor  analysis  และ  Principal  component  analysis  เพื่อ
                       ศึกษาพฤติกรรมของตัวอย่างดินโดยอาศัยผลการวิเคราะห์ปริมาณธาตุองค์ประกอบรวมเป็นข้อมูล

                       หลักในการจัดกลุ่มดิน โดยร้อยละ 61.05 ของความผันแปร  (Variation) ของข้อมูล จากภาพที่ 12

                       ใช้ปัจจัยในการอธิบายสองปัจจัยดังแสดงในภาพที่  12 ข้อมูลของตัวแปรแบ่งออกเป็นสองกลุ่มเครือ
                       สหาย (Affinity groups) ภาพที่ 12ก


                               กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วย อนุภาคขนาดทราย (Sand) และซิลิคอน (Si)

                               กลุ่มที่ 2  ประกอบด้วย อนุภาคขนาดดินเหนียว (Clay)  อนุภาคขนาดทรายแป้ง (Silt)

                       อะลูมินัม (Al)  เหล็ก (Fe)  แมงกานีส (Mn)  ฟอสฟอรัส (P)  แคลเซียม (Ca)  แมกนีเซียม  (Mg)
                       โพแทสเซียม (K) โซเดียม (Na) ก ามะถัน (S) ไทเทเนียม (Ti) และ สังกะสี (Zn)


                               จากการจัดกลุ่มของเครือสหายจะเห็นได้ว่ากลุ่มชุดดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ าขัง  ของกลุ่ม
                       ดินร่วนละเอียด พฤติกรรมของดินในกลุ่มนี้ถูกควบคุมด้วยปัจจัยเนื้อดินเป็นหลัก ภาพที่ 12ก


                               เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของหน่วยวิเคราะห์ (Cases) ภาพที่ 12ข พบว่าชุดดินเขาย้อย

                       เป็นชุดดินที่มีค่าก ามะถันสูงท าให้ชุดดินเขาย้อยแยกออกมาจากชุดดินในกลุ่มเดียวกัน


















                                                                                                       93
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111